แผนการจัดการความรู้ขององค์กรด้านการเรียนการสอน

แผนการจัดการความรู้ขององค์กรด้านการเรียนการสอน: การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2560

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัด (KPI)

เป้าหมายของตัวชี้วัด

องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพบัณฑิต

กลยุทธ์ที่ 1.3 การพัฒนาทักษะของนิสิตให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพและ มาตรฐานทางด้านภาษาต่างประเทศ

เพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับเทคนิคการสอนภาคปฏิบัติของคณะพยาบาลศาสตร์

อาจารย์มีความรู้ความสามารถในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ

 

ร้อยละของอาจารย์ใหม่ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพการสอนภาคปฏิบัติ

-เทคนิคการสอนภาคปฏิบัติ

  • Hospital Base area 
  • Community Base area

เช่น -การเตรียมพร้อมของอาจารย์ การเตรียมนิสิต

  • การปรับทัศนคติ
  • การ Pre-conference , post conference  และการประเมินผล
  • การประสานงานกับแหล่งฝึก
  • บุคลิกภาพของผู้สอน

 

 

แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)

หน่วยงาน : คณะพยาบาลศาสตร์

:

คณะพยาบาลศาตร์

ประเด็นยุทธศาสตร์

:

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพบัณฑิต

องค์ความรู้ที่จำเป็น (KM)

:

การพัฒนาเทคนิคการสอนภาคปฏิบัติ

ตัวชี้วัด (KPI)

:

อาจารย์มีความรู้ความสามารถในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ

เป้าหมายของตัวชี้วัด

:

ร้อยละของอาจารย์ใหม่ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพการสอนภาคปฏิบัติ

 

ลำดับที่

กิจกรรมการจัดการความรู้

ระยะเวลา

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

ผู้รับผิดชอบ

สถานะ

หมายเหตุ

1.

ค้นหาความรู้

- แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ KM ด้านการเรียนการสอนภาคปฏิบัติระดับคณะฯ

 -ประชุมร่วมกัน เพื่อชี้แจงแนวทางการพัฒนาองค์ความรู้ของคณะฯด้านการเรียนการสอน

-วิเคราะห์ตนเองเกี่ยวกับองค์ความรู้ที่จำเป็นด้านการเรียนการสอนและจัดทำ knowledge mapping  ของคณะฯด้านการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 

1 สัปดาห์

ประเด็นความรู้ที่สามารถนำไปใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ

1 ประเด็น

อาจารย์ที่มีประสบการณ์ด้านการสอนภาคปฏิบัติ มากกว่า 10 ปีขึ้นไป ที่มาจาก7สาขาๆ 2 คน จำนวน 14 - 15 คน

(กรรมการKM ด้านการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ)

รองคณบดีฝ่ายบริหารและประกันคุณภาพการศึกษา

 

 

 

2.

สร้างและแสวงหาความรู้

-คณะกรรมการฯกำหนดเนื้อหาความรู้ที่คณะฯต้องการ

-คณะกรรมการ ฯ ประชุมร่วมกันแบบไม่เป็นทางการเดือนละ 2 ครั้ง ทุกวันอังคาร ครั้งละ 1 ชั่วโมงเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การสอนภาคปฏิบัติ โดยให้แต่ละคนแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ฯ คนละ 3 นาที

-จัดทำ Blog หน้า website ของคณะฯ เพื่อให้ผู้สนใจอื่น ๆสามารถแสดงเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์เพิ่มเติมได้ 

มีนาคม – สิงหาคม 2560

ทุกวันอังคาร

เวลา 15.30 – 16.30 น.

แลกเปลี่ยนประสบการณ์การสอนภาคปฏิบัติ คนละ 3 นาที

จำนวนครั้งในการแลกเปลี่ยนประเด็นความรู้ 8 – 10 ครั้ง

อาจารย์ที่มีประสบการณ์ด้านการสอนภาคปฏิบัติ มากกว่า 10 ปีขึ้นไป ที่มาจาก7สาขาๆ 2 คน จำนวน 14 - 15 คน

กรรมการKM ด้านการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ

 

 

3-4

สรุปประเด็นความรู้

- ในแต่ละครั้งมีการสรุปประเด็นหรือสาระที่มีการแลกเปลี่ยนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร

 -รวบรวม วิเคราะห์ ประเด็นที่ได้

 -เรียบเรียงเนื้อหา และบันทึกอย่างเป็นระบบ

- คณะกรรมการ ฯ ร่วมกันสรุปประเด็น และจัดระบบความรู้การสอนภาคปฏิบัติ

เดือนละครั้ง

ร่างสรุปประเด็นหรือสาระที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แต่ละครั้ง

4-5 ครั้งแรกของการประชุม

คณะกรรมการ ฯ

 

 

 

5.

-ประธานฯ และเลขาฯ จัดทำรายงานสรุปเทคนิคการสอนภาคปฏิบัติเสนอต่อคณะกรรมการบริหารคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อพิจารณากำหนดกลุ่มเป้าหมายที่จะนำองค์ความรู้ ไปทดลองใช้ เช่น

อาจารย์ใหม่ ที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการสอนภาคปฏิบัติ หรืออาจารย์เก่า

-คณะกรรมการ KM ติดตาม/ประเมินผลการนำไปใช้ ในกลุ่มอาจารย์และนิสิต

-นำผลการประเมินหรือข้อเสนอแนะที่ได้มาปรับปรุงองค์ความรู้ที่ได้ให้สมบูรณ์

เดือนกรกฎาคม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปีการศึกษา 2560

รายงานสรุปองค์ความรู้การสอนภาคปฏิบัติ

 

 

 

 

 

 

 

 

รายงานการประเมินผลการนำองค์ความรู้ไปใช้

 

รายงานการปรับปรุงหลังจากการนำไปทดลองใช้

ได้ประเด็นในการพัฒนา 3 ประเด็น

  • การเตรียม
  • กระบวนการนิเทศ
  • การประเมินผล

 

 

 

 

 

มีการนำเทคนิคฯ ไปใช้อย่างน้อย 1 รายวิชา/ภาคการศึกษา

 

 

 

 

คณะกรรมการ ฯ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

อาจารย์ใหม่/อาจารย์เก่า/นิสิต

 

 

 

 

6.

คณะกรรมการ ฯ พัฒนาคู่มือและจัดทำเป็นรูปเล่มพร้อมเผยแพร่ในระบบสารสนเทศของคณะฯ จำนวน 2 เล่มดังนี้

  1. คู่มืออธิบายกระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้ด้านการสอนภาคปฏิบัติ
  2. คู่มือสรุปเทคนิคการสอนภาคปฏิบัติทางการพยาบาล (Best Practice)

ปีการศึกษา 2560

จำนวนคู่มือการพัฒนาองค์ความรู้

1 เรื่อง

คณะกรรมการ ฯ

 

 

 

7.

คณะกรรมการ KM ประเมินผลการนำองค์ความรู้ที่ได้ไปเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ปีการศึกษา 2560

จำนวนครั้งในการติดตาม

มีการประเมิน ฯ คู่มือ อย่างต่อเนื่อง

คณะกรรมการ ฯ

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบฟอร์ม KM แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process)

ชื่อหน่วยงาน :

เป้าหมาย NM (Desired State) :

หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม :

 

ลำดับ

กิจกรรม

วิธีการสู่ความสำเร็จ

ระยะเวลา

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

เครื่องมือ/อุปกรณ์

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

สถานะ

1

การบ่งชี้ความรู้

 

 

 

 

 

 

 

 

2

การสร้างและแสวงหาความรู้

-ภายใน

-ภายนอก

 

 

 

 

 

 

 

 

3

การจัดลำดับความรู้ให้เป็นระบบ

 

 

 

 

 

 

 

 

4

การประมวลและกลั่นกรองความรู้

 

 

 

 

 

 

 

 

5

การเข้าถึงความรู้

 

 

 

 

 

 

 

 

6

การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

 

 

 

 

 

 

 

 

7

การเรียนรู้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบฟอร์ม KM แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process)

ชื่อหน่วยงาน :

เป้าหมาย NM (Desired State) :

หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม :

 

ลำดับ

กิจกรรม

วิธีการสู่ความสำเร็จ

ระยะเวลา

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

เครื่องมือ/อุปกรณ์

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

สถานะ

1

การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

 

 

 

 

 

 

 

2

การสื่อสาร

 

 

 

 

 

 

 

 

3

การบวนการและเครื่องมือ

 

 

 

 

 

 

 

 

4

การเรียนรู้

 

 

 

 

 

 

 

 

5

การวัดผล

 

 

 

 

 

 

 

 

6

การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล