ลำดับ | ชื่อโครงการ | ผู้เขียน | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | การพัฒนาเครือข่ายผู้นำในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก: บูรณาการองค์ความรู้จากฐานข้อมูลภูมิปัญญาอาหารท้องถิ่น และ นวัตกรรมการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเกื้อกูลบริการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม |
|
||||||||||||||||||||
2 | ภูมิปัญญาด้านสุขภาพ: การส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุชาวสวนทุเรียนอินทรีย์ในเขต ภาคตะวันออกของประเทศไทย |
|
||||||||||||||||||||
3 | ประสิทธิผลของโปรแกรมกระตุ้นศักยภาพสมองต่อการทำหน้าที่ของสมอง คลื่นไฟฟ้าสมอง และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมในภาคตะวันออก ประเทศไทย |
|
||||||||||||||||||||
4 | การพัฒนาแอปพลิเคชัน “สุขภาพและความปลอดภัยในการทำงาน” สำหรับสตรีวัยเจริญพันธุ์ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก |
|
||||||||||||||||||||
5 | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้สูงอายุที่รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด |
|
||||||||||||||||||||
6 | ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของผู้สูงอายุโรคต้อกระจกที่ได้รับการผ่าตัดใส่เลนส์แก้วตาเทียม |
|
||||||||||||||||||||
7 | ประสิทธิผลของแอปพลิเคชัน “รู้เท่าทันความเครียด” ต่อการส่งเสริมการคิดเชิงบวกและลดความเครียดในวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงโดยใช้แนวคิดการบำบัดด้วยการยอมรับและพันธะสัญญาเป็นฐาน |
|
||||||||||||||||||||
8 | เปรียบเทียบอุบัติการณ์การเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันระหว่างประเทศญี่ปุ่นและประเทศไทย และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง |
|
||||||||||||||||||||
9 | การศึกษาแบบผสมผสานเพื่ออธิบายพฤติกรรมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สารเสพติด ในกลุ่มนักศึกษาอาชีวะในเขตภาคตะวันออก |
|
||||||||||||||||||||
10 | ผลของโปรแกรมการใช้คู่มือการบำบัดความคิดและพฤติกรรมด้วยตนเองต่อความคิดอัตโนมัติทางลบและภาวะซึมเศร้าของเยาวชนที่ติดสารเสพติดประเภท 1 ในเรือนจำกลางชลบุรี |
|
||||||||||||||||||||
11 | การพัฒนาโปรแกรมการบ่มเพาะความยืดหยุ่นทางจิตใจ และเป้าหมายในชีวิตเพื่อป้องกันการใช้สารเสพติดด้วยกระบวนการบำบัดผสมผสานการยอมรับและสร้างพันธะสัญญาและศิลปะการแสดงในเยาวชนในเขตภาคตะวันออก: การวิจัยแบบผสมผสาน |
|
||||||||||||||||||||
12 | ผลของโปรแกรมสร้างเสริมศักยภาพการดูแลผู้ที่ป่วยด้วยโรคทางจิตเวชต่อความพร้อมในการดูแลของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลศรีราชา |
|
||||||||||||||||||||
13 | ความต้องการของนิสิตพยาบาลในหลักสูตรการจัดการศึกษาที่แตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษาของคณะพยาบาลศาสตร์ |
|
||||||||||||||||||||
14 | ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่ต่อพฤติกรรมการเลิกบุหรี่สำหรับพนักงานประจำสถานประกอบการที่เคยติดเชื้อโรคโควิด-19 ในเขตพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก |
|
||||||||||||||||||||
15 | การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับสารเสพติดในภาคตะวันออกของประเทศไทย |
|
||||||||||||||||||||
16 | ปัจจัยทำนายความเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุในโรงพยาบาลบ้านแพ้ว |
|
||||||||||||||||||||
17 | การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดการเกิดก้อนเลือดใต้ผิวหนัง ในผู้ป่วยหลังได้รับการถอดท่อนำสายสวนคาหลอดเลือดแดงภายหลังทำหัตถการสวนหลอดเลือดหัวใจ โรงพยาบาลบ้านแพ้ว |
|
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ผู้เขียน | ||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ขุมปัญญาสวนทุเรียนอินทรีย์เพื่อสังคมแห่งความสุขของผู้สูงอายุยุคใหม่ในเขตพื้นที่พิเศษภาคตะวันออก |
|
||||||||||||||||||||||
2 | นวัตกรรมการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเกื้อกูลบริการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม : ภูมิปัญญาสุขภาพผู้สูงอายุ |
|
||||||||||||||||||||||
3 | ประสบการณ์ของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้สูงอายุผ่านสื่อออนไลน์ระหว่างการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 |
|
||||||||||||||||||||||
4 | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการเรียนออนไลน์ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ในสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 |
|
||||||||||||||||||||||
5 | การทดสอบคุณสมบัติทางจิตมิติของแบบวัดความยากในการกำกับอารมณ์ฉบับสั้น ภาษาไทย ในนักศึกษามหาวิทยาลัย |
|
||||||||||||||||||||||
6 | ปัจจัยทำนายผลลัพธ์การเรียนรู้ของนิสิตพยาบาลจากการเรียนแบบออนไลน์ในช่วงการระบาดของโรคโควิด -19 |
|
||||||||||||||||||||||
7 | การพัฒนารูปแบบศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแบบกลางวัน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
||||||||||||||||||||||
8 | การจัดการอาการและการแสวงหาการบริการสุขภาพของผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ที่พักรักษาตัวที่บ้านด้วยระบบ We safe@Home |
|
||||||||||||||||||||||
9 | ภาวะสุขภาพจิตและการทำหน้าที่ของครอบครัวของผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่ได้รับการดูแลแบบ Home Isolation โดยคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
||||||||||||||||||||||
10 | ผลของการใช้งานแอพพลิเคชั่น “กินยากันนะ” ผ่านทางสมาร์ทโฟนต่อความร่วมมือในการรับประทานยาของผู้ป่วยจิตเภท: การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม |
|
||||||||||||||||||||||
11 | ปัจจัยทำนายลำดับขั้นการตัดสินใจในการฉีดวัคซีนเอชพีวี ในชายรักชายวัยเยาว์ ในจังหวัดชลบุรี |
|
||||||||||||||||||||||
12 | ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลข่าวสาร สร้างแรงจูงใจ และพัฒนาทักษะด้วยแอพพลิเคชั่น Line เพื่อป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในนักเรียนประถมศึกษา |
|
||||||||||||||||||||||
13 | การพัฒนารูปแบบการสร้างความรอบรู้ด้านอาชีวอนามัยเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมความปลอดภัยในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาพยาบาลในยุคความปกติถัดไป |
|
||||||||||||||||||||||
14 | การประสานงานวิจัยเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเมือง ท้องถิ่นและกลไกเติบโตใหม่ |
|
||||||||||||||||||||||
15 | การศึกษาคุณภาพการจัดการความรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์ |
|
||||||||||||||||||||||
16 | การพัฒนาระบบพื้นที่การเรียนรู้ (Learning Space) (ภายใต้ กิน-อยู่-ดี แพลตฟอร์ม) สำหรับหมอพื้นบ้าน |
|
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ผู้เขียน | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สร้างฐานข้อมูลภูมิปัญญาอาหารท้องถิ่นจากผู้สูงอายุในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก |
|
||||||||||||||||||||
2 | ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง การใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
||||||||||||||||||||
3 | ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง |
|
||||||||||||||||||||
4 | ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการรับประทานอาหารสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ |
|
||||||||||||||||||||
5 | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ของสตรีวัยเจริญพันธุ์ |
|
||||||||||||||||||||
6 | ประสบการณ์ของนักศึกษาพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ |
|
||||||||||||||||||||
7 | การพัฒนาและทดสอบดัชนีชี้วัดการฟื้นคืนสู่สุขภาวะสำหรับผู้ใช้สารเสพติดในเขตภาคตะวันออก ประเทศไทย |
|
||||||||||||||||||||
8 | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา |
|
||||||||||||||||||||
9 | ปัจจัยทำนายภาวะโภชนาการของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว |
|
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ผู้เขียน | ||
---|---|---|---|---|
1 | การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะภาวะผู้นำทางการพยาบาลในยุคประเทศไทย 4.0 : กรณีศึกษาโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก |
|
||
2 | ผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่ออาการภายหลังสมองได้รับการกระทบกระเทือนและความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะระดับเล็กน้อย |
|
||
3 | ปัจจัยด้านจิตสังคมที่มีผลต่อพฤติกรรมการเรียนของนิสิตพยาบาล |
|
||
4 | ผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ที่มีไขมัน ในเลือดผิดปกติต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ และระดับไขมันในเลือด |
|
||
5 | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำของมารดาวัยรุ่นหลังคลอด |
|
||
6 | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรค COVID-19 ของผู้สูงอายุในภาคตะวันออก |
|
||
7 | สถานการณ์ปัญหาและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรค COVID-19 ในประชาชน ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและเขตพื้นที่บริการมหาวิทยาลัยบูรพา |
|
||
8 | ความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันการแพร่ระบาดของของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในพื้นที่เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก |
|
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ผู้เขียน | ||||
---|---|---|---|---|---|---|
1 | รูปแบบการดูแลความสุขสบายในการดูแลแบบประคับประคองภาวะสุขภาพสำหรับผู้ที่อยู่ในระยะท้ายของชีวิต |
|
||||
2 | รูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมภาวะเมตาบอลิกซินโดรมในวัยผู้ใหญ่และวัยผู้สูงอายุ |
|
||||
3 | พฤติกรรมการค้นหาข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในพื้นที่เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก |
|
||||
4 | การพัฒนารูปแบบการจัดการภาวะซึมเศร้าของแรงงานไทยเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) |
|
||||
5 | ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของแรงงานไทยในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกของประเทศไทย |
|
||||
6 | ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์แรงงานข้ามชาติ ในเขตจังหวัดชลบุรี |
|
||||
7 | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับประทานกรดโฟลิกของสตรีตั้งครรภ์ |
|
||||
8 | รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของน้ําตาลในเลือดหลังรับประทานอาหาร 2 ชั่วโมง ในสตรีที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ |
|
||||
9 | การตรวจสอบความตรงและความเชื่อมั่นของแบบสอบถามการมีปฏิสัมพันธ์ทางวาจาและสังคมสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ให้การดูผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตฉบับภาษาไทย |
|
||||
10 | ปัจจัยทำนายพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหารในเด็กวัยก่อนเรียน |
|
||||
11 | ประสิทธิผลของโปรแกรมกลุ่มบำบัดแบบการยอมรับและสร้างพันธะสัญญาต่อเยาวชนที่ใช้สารเสพติด |
|
||||
12 | Development of Community Model applying Community Participation Concept to Improve Quality of Life of Residents living in Map Ta Phut Industrial Estate |
|
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ผู้เขียน | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | การประเมินความต้องการรับการอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไปของผู้สำเร็จการศึกษาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
|
||||||||
2 | รูปแบบการเรียนรู้และการรับรู้ความสามารถด้านการเรียนในนักศึกษาพยาบาล |
|
||||||||
3 | การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
||||||||
4 | ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อความฉลาดทางสังคมและความสุขของนิสิตพยาบาล |
|
||||||||
5 | ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับความผาสุกทางใจของผู้ดูแลเด็กออทิสติกในภาคตะวันออกของประเทศไทย |
|
||||||||
6 | ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อการป้องกันการตั้งครรภ์กับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในจังหวัดชลบุรี |
|
||||||||
7 | ประสบการณ์การดูแลเพื่อการตายดีที่บ้านโดยสมาชิกครอบครัวผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย |
|
||||||||
8 | สมรรถนะวิชาชีพสาหรับการดูแลแบบประคับประคองภาวะสุขภาพและการดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะท้ายของชีวิตของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ |
|
||||||||
9 | พฤติกรรมการรังแกผู้อื่นและการตกเป็นเหยื่อการรังแกผ่านโลกไซเบอร์ของนิสิตพยาบาล |
|
||||||||
10 | ปัจจัยส่วนบุคคล สภาพงาน สิ่งแวดล้อมในการทำงาน และอำนาจทำนายต่อความสามารถในการทำงานของพนักงานขับรถพยาบาล |
|
||||||||
11 | ประสบการณ์การมีส่วนร่วมของบิดาในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดที่เข้ารับการรักษาในหอทารกแรกเกิดป่วย |
|
||||||||
12 | ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคออฟฟิตซินโดรมกับพฤติกรรมการป้องกันโรคออฟฟิตซิน โดรม ของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง |
|
||||||||
13 | พฤติกรรมสุขภาพและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพของบุคคลภายหลังการเกิดกลุ่มอาการโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน : การศึกษาติดตามไปข้างหน้าในระยะเวลา 3 เดือน |
|
||||||||
14 | การรับรู้ของผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย ที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องแบบถาวร ต่อการได้รับการดูแลอย่างเอื้ออาทรจากพยาบาล |
|
||||||||
15 | ประสบการณ์การฟื้นคืนสู่สุขภาวะในเยาวชนชายที่ได้รับการบำบัดยาเสพติด |
|
||||||||
16 | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเข้าใจความรู้สึกผู้อื่นของนักศึกษาพยาบาลในเขตภาคตะวันออก ประเทศไทย |
|
||||||||
17 | ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับลักษณะทางจริยธรรมของเด็กนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนขยายโอกาส |
|
||||||||
18 | ปัจจัยทำนายความต้องการของผู้ป่วยมะเร็งในเขตภาคตะวันออก |
|
||||||||
19 | ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น |
|
||||||||
20 | ความกลัวการหกล้ม การจำกัดกิจกรรมและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้สูงอายุในชุมชนในจังหวัดชลบุรี ภาคตะวันออกของประเทศไทย |
|
||||||||
21 | การพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกินในเขตชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก |
|
||||||||
22 | การป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ในวัยรุ่นที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน |
|
||||||||
23 | การพัฒนาเครื่องมือคัดกรองความรุนแรงจากคู่ในสตรี |
|
||||||||
24 | ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างแรงจูงใจร่วมกับการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน |
|
||||||||
25 | ความพร้อมและความต้องการในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชของญาติและภาคีเครือข่ายในชุมเขตจังหวัดชลบุรี |
|
||||||||
26 | รูปแบบการดูแลความสุขสบายในการดูแลแบบประคับประคองภาวะสุขภาพสำหรับผู้ที่อยู่ในระยะท้ายของชีวิต |
|
||||||||
27 | การพัฒนาแอพพลิเคชั่น สมาร์ทการดูแล เพื่อสนับสนุนผู้ดูแลคนพิการทางการเคลื่อนไหว |
|
||||||||
28 | การพัฒนารูแบบการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเขตภาคตะวันออก |
|
||||||||
29 | ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาพยาบาล ภาคตะวันออก |
|
||||||||
30 | บทบาทความรับผิดชอบของพยาบาลในการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ |
|
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ผู้เขียน | ||
---|---|---|---|---|
1 | การพัฒนาแบบประเมินสภาวะสุขภาพตามวัฒนธรรมของผู้รับบริการข้ามวัฒนธรรม |
|
||
2 | การรับรู้ภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ พฤติกรรมสุขภาพและความต้องการบริการสุขภาพแบบองค์รวมของหญิงตั้งครรภ์อายุมาก |
|
||
3 | ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาต่อการแก้ปัญหาทางสังคมและภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล |
|
||
4 | การพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียนและวันรุ่นที่มีภาวะน้ำหนักเกินในเขตชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก |
|
||
5 | การพัฒนารูปแบบการประเมินสภาวะสุขภาพตามวัฒนธรรมของผู้รับบริการข้ามวัฒนธรรม |
|
||
6 | การป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ในวัยรุ่นที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน |
|
||
7 | การพัฒนารูปแบบการพยาบาลเพื่อบรรเทาความทุกข์ทรมานของมารดาที่มีทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยที่เข้ารับการรักษาในหออภิบาลทารกแรกเกิดป่วย |
|
||
8 | ปัจจัยทำนายระดับไขมันในเลือดของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่กลับเป็นซ้ำ |
|
||
9 | ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยหมดประจำเดือน จังหวัดชลบุรี |
|
||
10 | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผู้ปุวยในนักศึกษาพยาบาล |
|
||
11 | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการทำหน้าที่ของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว |
|
||
12 | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะระดับปานกลาง |
|
||
13 | รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความฉลาดทางสังคมของนักศึกษาพยาบาล |
|
||
14 | ต้นทุนชีวิตกับพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน |
|
||
15 | ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการยืนหยัดเผชิญวิกฤตของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชน |
|
||
16 | ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนขยายโอกาส |
|
||
17 | ปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกทางใจของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท |
|
||
18 | สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในประชาคมอาเซียน |
|
||
19 | ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยที่ล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง |
|
||
20 | ประสบการณ์ของผู้ดูแลในการจัดการกับอาการทางจิตของผู้ป่วยจิตเภท |
|
||
21 | ความปลอดภัยในการทำงาน พฤติกรรมสุขภาพด้านความปลอดภัยในการทำงาน และปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพด้านความปลอดภัยในการทำงาน ของหญิงตั้งครรภ์ที่ทำงานอุตสาหกรรม เขตชายฝั่งทะเลตะวันออก ประเทศไทย |
|
||
22 | ประสบการณ์ความกล้าหาญทางจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ |
|
||
23 | ประสบการณ์ของผู้ดูแลเด็กในการป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กก่อนวัยเรียน |
|
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ผู้เขียน | ||||
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ ของนิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
||||
2 | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขของนิสิตพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
||||
3 | การพยาบาลเพื่อการตายดีที่บ้านตามการรับรู้ของพยาบาลในหน่วยบริการปฐมภูมิ |
|
||||
4 | ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ |
|
||||
5 | ปัจจัยทำนายการปฏิบัติกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในจังหวัดชลบุรี |
|
||||
6 | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
||||
7 | ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของเด็กวัยก่อนเรียน |
|
||||
8 | ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจในการเลิกยาเสพติดของเยาวชนที่ใช้สารเสพติด |
|
||||
9 | ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้สูงอายุในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางละมุง จังหวัดชลบุรี |
|
||||
10 | รูปแบบการจัดการตนเองในการชะลอภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ ๒ เขตภาคตะวันออกของประเทศไทย |
|
||||
11 | การพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกินในเขตชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก |
|
||||
12 | การลดปัจจัยเสี่ยงและฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด |
|
||||
13 | ผลของโปรแกรมกลุ่มบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจต่อการมองโลกทางบวกและความตั้งใจในการเลิกยาเสพติดของเยาวชนที่ใช้สารเอมเฟตามีน |
|
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ผู้เขียน | ||||
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางสุขภาพของครอบครัวกับภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี |
|
||||
2 | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และพฤติกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุจากการท่องเที่ยวทางทะเลของผู้ประกอบการแนวชายฝั่ง ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี |
|
||||
3 | การพัฒนาเกณฑ์และมาตรฐานบริการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม |
|
||||
4 | ปัจจัยทำนายความผาสุกทางใจของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี |
|
||||
5 | แบบจำลองเชิงสาเหตุคุณภาพชีวิตของหญิงตั้งครรภ์ |
|
||||
6 | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์กร ของบุคลากรคณะพยาบาลศาสตร์ |
|
||||
7 | การศึกษาติดตามอาการปวดศีรษะ อาการอ่อนล้า และความแปรปรวนของการนอนหลับและความสามารถในการปฎิบัติกิจกรรมในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะระดับเล็กน้อย |
|
||||
8 | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน |
|
||||
9 | การพัฒนาระบบแนะนำการพยาบาลญาติผู้ดูแลคนพิการ โดยใช้เทคนิคการทำเหมืองข้อมูล : การวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบระบบ |
|
||||
10 | ความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารเรื่องเพศ และความสม่ำเสมอในการใช้ถุงยางอนามัยของกลุ่มเยาวชนไทยชายรักชาย จังหวัดชลบุรี |
|
||||
11 | การพัฒนารูปแบบการแปลงองค์ความรู้สู่การปฎิบัติการพยาบาลครอบครัว |
|
||||
12 | ปัญหาและความต้องการพัฒนาตนเองของบุคลากรคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
||||
13 | โรค Metabolic syndrome ในเด็กวัยเรียนในเขคภาคตะวันออกของประเทศไทย: ความชุก และการติดตาม |
|
||||
14 | การพัฒนาแกนนำนิสิตเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองแสนสุข |
|
||||
15 | การพัฒนาชุมชนชายทะเลต้นแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน |
|
||||
16 | การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุชายทะเล |
|
||||
17 | รูปแบบการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของแรงงานสูงอายุนอกระบบในชุมชนชายทะเล ในชุมชนชายทะเล เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต |
|
||||
18 | รูปแบบการจัดการตนเองในการชะลอภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ ๒ เขตภาคตะวันออกของประเทศไทย |
|
||||
19 | การพัฒนารูปแบบการพยาบาลเพื่อบรรเทาความทุกข์ทรมานของบิดามารดาที่มีบุตรเป็นโรคมะเร็ง |
|
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ผู้เขียน | ||
---|---|---|---|---|
1 | การรับรู้ความเสี่ยง ความรู้ระดับปฏิบัติ และการจัดการของภาคีเครือข่ายสุขภาพชุมชนในภาวะน้ำมันรั่วลงทะเล |
|
||
2 | ปัจจัยเสี่ยงของกลุ่มอาการจอภาพคอมพิวเตอร์ของบุคลากรสายการสอน ในมหาวิทยาลัยบูรพา |
|
||
3 | การตายดีตามการรับรู้ของสมาชิกครอบครัวผู้ป่วย |
|
||
4 | ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ |
|
||
5 | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความวิตกกังวลจากการพรากจากของเด็กวัยก่อนเรียนในสถานรับเลี้ยงเด็ก ในเขตจังหวัดชลบุรี |
|
||
6 | การประเมินความต้องการจำเป็น ของพยาบาลเวชปฎิบัติ ในการปฎิบัติการพยาบาลตามสมรรถนะ ในเขตภาคตะวันออก |
|
||
7 | ปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปยางธรรมชาติที่สัมผัสเสียงดัง จังหวัดระยอง |
|
||
8 | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสียการได้ยินจากเสียงดังในพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปยางธรรมชาติ จังหวัดระยอง |
|
||
9 | การจัดการโปรแกรมการยศาสตร์ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อ การเกิดกลุ่มอาการผิดปกติของกล้ามเนื้อและโครงร่างกระดูก ด้วยกระบวนการการดำเนินงานด้านการยศาสตร์ ในโรงงานแปรรูปยางพาราขั้นต้น จังหวัดระยอง |
|
||
10 | ประสบการณ์การเปลี่ยนผ่านของนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานครั้งแรกในหอผู้ป่วย |
|
||
11 | ความชุก และปัจจัยที่มีผลต่อการมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์มากเกินเกณฑ์ของหญิงตั้งครรภ์ ในภาคตะวันออกของประเทศไทย |
|
||
12 | โรค Metabolic syndrome ในเด็กวัยเรียนในเขคภาคตะวันออกของประเทศไทย: ความชุก และการติดตาม |
|
||
13 | ประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวันต่อสภาวะอาการ สมรรถนะทางกาย สภาวะการทำหน้าที่ และคุณภาพชีวิตของผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง |
|
||
14 | การลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกลุ่มโรคหัวใจ |
|
||
15 | การลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง |
|
||
16 | การลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด |
|
||
17 | การลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหัวใจวาย |
|
||
18 | การพัฒนาแกนนำนิสิตเพื่อการดูแลผู้สูงอายุเทศบาลเมืองแสนสุข |
|
||
19 | การพัฒนารูปแบบและเทคโนโลยีเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน |
|
||
20 | การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพของพระสงฆ์สูงอายุ |
|
||
21 | โครงการขับเคลื่อนวิชาชีพการพยาบาล เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพพื้นที่ภาคตะวันออก |
|
ลำดับ | ชื่อโครงการ | ผู้เขียน | ||
---|---|---|---|---|
1 | ความต้องการ และการได้รับการตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุที่ได้รับการใช้เครื่องช่วยหายใจ |
|
||
2 | พฤติกรรมสุขภาพในเด็กวัยเรียนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องความสุขในการทำงานของอาจารย์พยาบาล |
|
||
3 | ความสุขในการทำงานของอาจารย์พยาบาล |
|
||
4 | การพัฒนาแบบวัดคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับนักศึกษาพยาบาลตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ |
|
||
5 | ผลของการรำไทยบนตารางเก้าช่องต่อภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ |
|
||
6 | การรับรู้สมรรถนะตนเองด้านการพยาบาลผู้สูงอายุและทักษะการคิดอย่างมีนิสิตพยาบาลศาสตรบัณฑิต |
|
||
7 | พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของนิสิตระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยของรัฐ |
|
||
8 | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิตของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ |
|
||
9 | การให้ความหมายต่อการใช้อินเทอร์เน็ตในนิสิตที่มีพฤติกรรมการเสพติด |
|
||
10 | ภาวะซึมเศร้าและปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง |
|
||
11 | ผลของการประยุกต์แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการออกกำลังกายด้วยยางยืดและตารางเก้าช่องต่อสมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและความผาสุก |
|
||
12 | การส่งเสริมการดูแลตนเองในผู้สูงอายุโดยการใช้สีภายในบ้านที่เหมาะกับการมองเห็นสีของผู้สูงอายุภายใต้ความสว่างต่างระดับ |
|
||
13 | ความเครียด สาเหตุความเครียด และพฤติกรรมการเผชิญความเครียดของนิสิตพยาบาลในการฝึกวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะสุขภาพเบี่ยงเบน |
|
||
14 | ผลของโปรแกรมป้องกันการเริ่มต้นสูบบุหรี่ที่ใช้ในโรงเรียนเป็นฐานวัยรุ่นตอนต้น จ.ชลบุรี |
|
||
15 | การพัฒนาหลักสูตรอบรมทักษะการจัดการความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ |
|
||
16 | การลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกลุ่มโรคหัวใจ |
|
||
17 | การลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง |
|
||
18 | การลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาด |
|
||
19 | การลดปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหัวใจวาย |
|
||
20 | ผลของการใช้รูปแบบการส่งเสริมการจัดการดูแลตนเองที่เน้นการสร้างสุขในผู้เป็นความดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยง |
|
||
21 | รูปแบบการเตรียมความพร้อมของผู้สูงอายุและครอบครัวสู่การตายอย่างสงบที่บ้าน |
|
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 169 ถนนลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131
โทร. 038-102-880 แฟกซ์ 038-393-476 ผู้ดูแลเว็บไซต์ : admin@nurse.buu.ac.th
ประเมินผลเว็บไซต์
Copyright © 2021 | by Faculty of Nursing Burapha University