หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

หน่วยงาน/สถาบัน

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

หลักสูตรผ่านการรับรองโดย

สภามหาวิทยาลัยบูรพา ได้อนุมัติหลักสูตร เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2564

สภาการพยาบาล ได้รับรองหลักสูตร เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565

ชื่อวุฒิ

ภาษาไทย: หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก

ภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science Program in Pediatric Nursing

ชื่อปริญญา

ชื่อปริญญาภาษาไทย: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเด็ก)

ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science (Pediatric Nursing)

ชื่อย่อปริญญา

อักษรย่อภาษาไทย: พย.ม. (การพยาบาลเด็ก)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ: M.N.S. (Pediatric Nursing)

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้แล้ว ผู้สำเร็จการศึกษาจะมีสมรรถนะ ดังนี้

1. มีคุณธรรมจริยธรรมและมีทักษะการตัดสินใจเชิงคุณธรรมจริยธรรม มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพพยาบาล มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีจิตสาธารณะ และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เพื่อเป็นแบบอย่างและสามารถปฏิบัติงานได้ดี

2. สามารถบูรณาการศาสตร์การพยาบาลเด็กและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อการปฏิบัติการพยาบาลเด็กแบบองค์รวมตั้งแต่ภาวะสุขภาพปกติ เสี่ยง เจ็บป่วยเฉียบพลัน วิกฤต เรื้อรัง และระยะสุดท้าย โดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง คำนึงถึงคุณค่าความเป็นมนุษย์ พหุวัฒนธรรมและตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ

3. มีความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์ และสร้างสรรค์

4. มีความสามารถประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัลทางสุขภาพที่ทันสมัยในการทําวิจัยและพัฒนานวัตกรรม และนำผลการวิจัยมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลเด็กและระบบบริการพยาบาลเด็ก

5. มีความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพ สื่อสารทางสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ มีภาวะ ผู้นําในการบริหารจัดการ และมีแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการในการดูแลสุขภาพเด็ก

6. มีการพัฒนาตนเอง มีความรับผิดชอบต่อวิชาชีพและสังคม และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

โครงสร้างหลักสูตร และจำนวนหน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 2

ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชาบังคับ

21 หน่วยกิต

วิชาแกน

9 หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

12 หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า

3 หน่วยกิต

หมวดวิทยานิพนธ์

12 หน่วยกิต

หมวดวิชาบังคับ

21 หน่วยกิต

1) วิชาแกน

9 หน่วยกิต

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

2) วิชาเฉพาะ

12 หน่วยกิต

10850165

พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาเพื่อการพยาบาลเด็กขั้นสูง
Pathophysiology and Pharmacology for Advanced Pediatric Nursing

2 (2-0-4)

10850265

การพยาบาลเด็กขั้นสูง 1
Advanced Pediatric Nursing I

2 (2-0-4)

10850365

ปฏิบัติการพยาบาลเด็กขั้นสูง 1
Advanced Pediatric Nursing Practicum I

3 (0-9-3)

10850465

การพยาบาลเด็กขั้นสูง 2
Advanced Pediatric Nursing II

2 (2-0-4)

10860565

ปฏิบัติการพยาบาลเด็กขั้นสูง 2
Advanced Pediatric Nursing Practicum II

3 (0-9-3)

หมวดวิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

10860665

สัมมนาวิจัยทางการพยาบาลเด็กขั้นสูง
Research Seminar for Advanced Pediatric Nursing

3 (3-0-6)

10860765

การพยาบาลเด็กป่วยและครอบครัวขั้นสูง
Advanced Nursing Care for Pediatric Patients and their Families

3 (2-3-4)

10760165

การจัดการทางการพยาบาล
Nursing Management

3 (2-3-4)

10760265

การสอนทางการพยาบาล
Teaching in Nursing

3 (2-3-4)

10760365

การพัฒนาบทบาทผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง
Advanced Practice Nursing Role Development

3 (2-3-4)

        นอกจากนี้นิสิตสามารถเลือกเรียนรายวิชาอื่น ๆ เพิ่ม ในระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดในสถาบัน หรือนอกสถาบันที่มหาวิทยาลัยบูรพารับรอง ทั้งนี้ ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ

หมวดวิทยานิพนธ์

12 หน่วยกิต

10869965

วิทยานิพนธ์
Thesis

12 (0-0-36)

วัน-เวลาการเรียน

แบบเต็มเวลา เรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน)

แบบไม่เต็มเวลา เรียนวันและนอกเวลาราชการ (วันเสาร์และวันอาทิตย์) และเรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน กรณีรายวิชาปฏิบัติ)

คุณสมบัติเฉพาะของผู้เข้าศึกษา

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต

มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม ดังนี้

1. มีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา เรื่อง การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2562 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ถ้ามี)

2. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการพยาบาลหรือเทียบเท่า และมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขาการพยาบาลหรือสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง

3. มีคะแนนเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่น้อยกว่า 2.50

4. มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการพยาบาลหลังสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ไม่น้อยกว่า 1 ปี (นับถึงวันสมัคร)

5. ในกรณีที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามที่กล่าวข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ

ทุนการศึกษา

1. ทุนการทำวิทยานิพนธ์

2. ทุนการศึกษา เพื่อต่อยอดเป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สิ่งสนับสนุน

1. มีอาคารเรียนและห้องเรียนที่เหมาะสมกับการเรียนระดับบัณฑิตศึกษามีอุปกรณ์โสตที่เพียงพอและพร้อมใช้

2. มีห้องทำงานหรือห้องศึกษาสำหรับผู้เรียนอย่างเหมาะสม เป็นสัดส่วนและเอื้อต่อการเรียนรู้ของนิสิต

3. มีห้องทำงานอาจารย์ที่เหมาะสม เป็นสัดส่วน และเอื้อต่อการทำงานและให้การปรึกษาแก่ผู้เรียน

4. มีห้องปฏิบัติการพยาบาลเฉพาะสาขาวิชาตามหลักสูตร และมีอุปกรณ์เพียงพอในการฝึกทักษะขั้นสูง

4.1 ห้องปฎิบัติการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ

4.2 ห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับหุ่นจำลองเสมือนจริงขั้นสูง (Simulation Lab)

5. มีคอมพิวเตอร์จำนวนที่เพียงพอ และทันสมัยสำหรับผู้เรียนทุกคน เพื่อการค้นคว้าโดยเฉพาะ

6. มีสำนักห้องสมุดที่มีตำรา และหนังสือที่ทันสมัย ทางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร หรือมีอิเล็กทรอนิกส์บุ๊ค วารสารวิชาชีพการพยาบาล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ วารสารทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและการพยาบาลและฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์วิทยานิพนธ์ ทั้งในและต่างประเทศที่ทันสมัยอย่างเพียงพอ และสามารถสืบค้นได้ตลอดเวลา

7. มีแหล่งฝึกวิชาปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผู้เรียนปริญญาโทตรงตามสาขาวิชาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และ มีจำนวนผู้ป่วย/ผู้รับบริการเพียงพอสำหรับการฝึกปฏิบัติ


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2567

รองศาสตราจารย์ ดร.ณัชนันท์ ชีวานนท์
Assoc. Prof. Dr.Natchanan Chivanon

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102889
email : natchananc@gmail.com, natchanan@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.นุจรี ไชยมงคล
Assoc. Prof. Dr.Nujjaree Chaimongkol

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102222
email : nujjaree@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พจนารถ สารพัด
Asst. Prof. Dr.Photjanart Sarapat

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102889
email : photjanart@buu.ac.th

Profile

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

รองศาสตราจารย์ ดร.ณัชนันท์ ชีวานนท์
Assoc. Prof. Dr.Natchanan Chivanon

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102889
email : natchananc@gmail.com, natchanan@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ธีระรังสิกุล
Asst. Prof. Dr.Narumon Teerarungsikul

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102861
email : teerarungsi@hotmail.com , narumon@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์
Assoc. Prof. Dr.Siriyupa Sananreangsak

ส.ด. (การพยาบาลสาธารณสุข)

โทร : 038-102860
email : s_siriyupa@yahoo.com, siriyupa_s@buu.ac.th

Profile

ศาสตราจารย์ ดร.จินตนา วัชรสินธุ์
Prof. Dr.Chintana Wacharasin

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102892
email : chintana@buu.ac.th,

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.นุจรี ไชยมงคล
Assoc. Prof. Dr.Nujjaree Chaimongkol

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102222
email : nujjaree@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พจนารถ สารพัด
Asst. Prof. Dr.Photjanart Sarapat

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102889
email : photjanart@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์
Assoc. Prof. Dr.Pornpat Hengudomsub

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102807
email : pornpat12@yahoo.com, pornpath@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ร.อ.หญิง ดร.ชนัดดา แนบเกษร
Assoc. Prof. Capt. Dr.Chanudda Nabkasorn

Ph.D. (Medical Nursing)

โทร : 038-102867
email : chanuddan@yahoo.com, chanudda@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.พรนภา หอมสินธุ์
Assoc. Prof. Dr.Pornnapa Homsin

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102842
email : phomsin09@gmail.com, pornnapa@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี
Assoc. Prof. Dr.Tatirat Tachasuksri

Dr.P.H. (Public Health Nursing)

โทร : 038-102861
email : tatiratp@yahoo.com, tatirat@buu.ac.th

Profile

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

แบบเต็มเวลา 132,000 บาท แบ่งชำระ 4 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,000 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,000 บาท

แบบไม่เต็มเวลา 165,000 บาท แบ่งชำระ 6 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,000 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

16,500 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 5

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 6

16,500 บาท

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตรฯ (PLOs)

PLO 1

ด้านคุณธรรม จริยธรรม

PLO 1.1

แสดงพฤติกรรมที่สะท้อนถึงความมีคุณธรรม จริยธรรมการวิจัย จริยธรรมเชิงวิชาการ

PLO 1.2

สามารถวิเคราะห์และตัดสินใจบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยเด็กหรือผู้รับบริการ

PLO 1.3

ให้คำปรึกษาและชี้แนะทางกฎหมายและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพพิทักษ์สิทธิเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วยเด็กหรือผู้รับบริการ

PLO 2

ด้านความรู้

PLO 2.1

อธิบายในศาสตร์การพยาบาลเด็กและศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลเด็กขั้นสูง รวมทั้งกระบวนการวิจัยและสถิติ

PLO 2.2

วิเคราะห์อย่างลึกซึ้งในศาสตร์การพยาบาลเด็กและศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลเด็กขั้นสูง รวมทั้งกระบวนการวิจัยและสถิติ

PLO 3

ด้านทักษะทางปัญญา

PLO 3.1

สามารถคิดเชิงวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ

PLO 3.2

สามารถบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาลเด็กและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักฐานเชิงประจักษ์ ประสบการณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการดูแลผู้ป่วยเด็กหรือผู้รับบริการที่มีปัญหาซับซ้อนหรือปัญหาที่คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้น

PLO 3.3

เลือกใช้เครื่องมือในการประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาลที่เหมาะสม

PLO 3.4

สามารถจัดการผลลัพธ์ทางการพยาบาลและระบบสุขภาพ พัฒนาศักยภาพผู้ป่วยเด็กหรือผู้รับบริการและครอบครัวให้สามารถประเมินและจัดการปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

PLO 3.5

เป็นพี่เลี้ยงหรือต้นแบบในการปฏิบัติการพยาบาลเด็กขั้นสูง

PLO 3.6

ประยุกต์หลักการด้านคุณภาพและความปลอดภัยมาใช้ในการดูแลผู้ป่วยเด็กหรือผู้รับบริการที่อยู่ในความรับผิดชอบ

PLO 3.7

สามารถวิเคราะห์และประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการดูแลสุขภาพทางเลือกมาใช้

PLO 3.8

สามารถทำวิจัย/ โครงการ/ สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลเด็ก

PLO 4

ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

PLO 4.1

แสดงภาวะผู้นำ สามารถริเริ่มการเปลี่ยนแปลง ทำงานร่วมกับทีมสุขภาพและผู้ที่เกี่ยวข้อง

PLO 4.2

มีความไวเชิงวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ป่วยเด็กหรือผู้รับบริการ

PLO 4.3

มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองรวมทั้งวิชาชีพและสังคมได้อย่างต่อเนื่อง

PLO 4.4

มีความภาคภูมิใจและสร้างคุณค่าของวิชาชีพ สร้างวัฒนธรรมในการทำงานที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ

PLO 5

ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

PLO 5.1

มีทักษะขั้นสูงในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพื่อนำไปปรับปรุงคุณภาพการพยาบาลเด็ก

PLO 5.2

วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล เพื่อการติดตามเฝ้าระวังและการจัดการกับความเสี่ยง

PLO 5.3

สามารถติดต่อสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษกับผู้ป่วย/ผู้รับบริการ/ทีมพยาบาลและทีมสหสาขาวิชาชีพ

PLO 5.4

เผยแพร่ผลงานและแลกเปลี่ยนความรู้ใหม่ ๆ ทั้งในและนอกองค์กรอย่างมีมาตรฐาน


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

แผนการศึกษา แบบเต็มเวลา

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น (First Year, First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10850165

พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาเพื่อการพยาบาลเด็กขั้นสูง
Pathophysiology and Pharmacology for Advanced Pediatric Nursing

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10850265

การพยาบาลเด็กขั้นสูง 1
Advanced Pediatric Nursing I

2(2-0-4)

จำนวนหน่วยกิตรวม

8


ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย (First Year, Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

วิชาเฉพาะ

10850365

ปฏิบัติการพยาบาลเด็กขั้นสูง 1
Advanced Pediatric Nursing Practicum I

3(0-9-3)

วิชาเฉพาะ

10850465

การพยาบาลเด็กขั้นสูง 2
Advanced Pediatric Nursing II

2(2-0-4)

จำนวนหน่วยกิตรวม

10


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น (Second Year, First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

10860565

ปฏิบัติการพยาบาลเด็กขั้นสูง 2
Advanced Pediatric Nursing Practicum II

3(0-9-3)

วิชาเฉพาะ

xxxxxxxx

วิชาเลือก

3(x-x-x)

วิทยานิพนธ์

10669965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

12


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย (Second Year, Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

10669965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

6


แผนการศึกษา แบบไม่เต็มเวลา

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น (First Year, First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10850165

พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาเพื่อการพยาบาลเด็กขั้นสูง
Pathophysiology and Pharmacology for Advanced Pediatric Nursing

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10850265

การพยาบาลเด็กขั้นสูง 1
Advanced Pediatric Nursing I

2(2-0-4)

จำนวนหน่วยกิตรวม

8


ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย (First Year, Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

วิชาเฉพาะ

10850465

การพยาบาลเด็กขั้นสูง 2
Advanced Pediatric Nursing II

2(2-0-4)

จำนวนหน่วยกิตรวม

7


ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน (First Year, Summer Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

10850365

ปฏิบัติการพยาบาลเด็กขั้นสูง 1
Advanced Pediatric Nursing Practicum I

3(0-9-3)

จำนวนหน่วยกิตรวม

3


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น (Second Year, First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

10860565

ปฏิบัติการพยาบาลเด็กขั้นสูง 2
Advanced Pediatric Nursing Practicum II

3(0-9-3)

วิชาเฉพาะ

xxxxxxxx

วิชาเลือก

3(x-x-x)

วิทยานิพนธ์

10869965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

12


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย (Second Year, Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

10869965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

6



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2565

# รายการ ไฟล์แก้ไข ไฟล์ PDF
1. มคอ.2 -

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2566

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต

มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม

1. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น 1 หรือการพยาบาล ชั้น 1

2. มีประสบการณ์การทำงานพยาบาลอย่างน้อย 1 ปี นับถึงวันที่สมัคร

3. มีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

กรณีผู้เข้าศึกษาไม่มีสัญชาติไทย ต้องสำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ หรือเทียบเท่า และได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลโดยสภาวิชาชีพ หรือองค์กรที่รับผิดชอบในประเทศของผู้สมัคร กรณีไม่มีระบบการให้ใบอนุญาต ต้องมีใบรับรอง การขึ้นทะเบียนในประเทศของผู้สมัคร หรือรับรองโดยหน่วยงานกำกับดูแลวิชาชีพพยาบาล (Nursing Regulatory Authority) ในประเทศของผู้สมัคร

4. ในกรณีที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามที่กล่าวข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร

สนใจเข้าศึกษาต่อ สามารถสมัครผ่านทาง Online ได้ที่ http://e-admission.buu.ac.th

หรือสมัครด้วยตนเองที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา ชั้น 7 อาคาร 50 ปี ศาสตราจารย์ประยูร จินดาประดิษฐ์
สอบถามข้อมูลการรับสมัครได้ที่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 038-102700 ต่อ 705, 707
เว็บไซต์ : http://grd.buu.ac.th/wordpress/

สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรเพิ่มเติมได้ที่ งานบริการการศึกษา (บัณฑิตศึกษา) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 038-102805, 038-102875
เว็บไซต์ : http://www.nurse.buu.ac.th
Facebook : https://www.facebook.com/gradnursebuu

หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

หลักสูตรผ่านการรับรองโดย :

        สภามหาวิทยาลัยบูรพา ได้อนุมัติหลักสูตร เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2564

        สภาการพยาบาล ได้รับรองหลักสูตร เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565

ชื่อวุฒิ :

        ภาษาไทย: หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน

        ภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science Program in Community Nurse Practitioner

ชื่อปริญญา :

        ชื่อปริญญาภาษาไทย: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน)

        ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science (Community Nurse Practitioner)

ชื่อย่อปริญญา :

        อักษรย่อภาษาไทย: พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน)

        อักษรย่อภาษาอังกฤษ: M.N.S. (Community Nurse Practitioner)

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร :

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้แล้ว ผู้สำเร็จการศึกษาจะมีสมรรถนะ ดังนี้

1. สามารถตัดสินใจบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ กฎหมาย รวมทั้งมาตรฐานทางวิชาการและวิชาชีพในการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ทำวิจัย และพัฒนานวัตกรรมสุขภาพชุมชน

2. มีความรอบรู้อย่างลึกซึ้งในศาสตร์ทางการพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

3. สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ เพื่อทำวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสุขภาพชุมชน

4. สามารถบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาล ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง หลักฐานเชิงประจักษ์ และประสบการณ์ในการพัฒนาศักยภาพและดูแลสุขภาพแบบองค์รวมแก่ผู้รับบริการทั้งระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่มคน และชุมชนในทุกพลวัตรของสุขภาพอย่างเสมอภาค โดยคำนึงถึงพหุวัฒนธรรม

5. มีภาวะผู้นำและมีแนวคิดอย่างผู้ประกอบการ สามารถทำงานเป็นทีม ประสานงานที่ก่อให้เกิดความร่วมมือ และบริหารจัดการดูแลสุขภาพที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางสร้างสรรค์ มีสำนึกรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และวิชาชีพพยาบาล รวมทั้งแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

6. สามารถสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

7. สามารถจัดการสารสนเทศ เลือกและประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลทางสุขภาพที่ทันสมัยและเหมาะสม


โครงสร้างหลักสูตร และจำนวนหน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 2

ไม่น้อยกว่า 38 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชาบังคับ

23 หน่วยกิต

วิชาแกน

9 หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

14 หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า

3 หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

12 หน่วยกิต

หมวดวิชาบังคับ

23 หน่วยกิต

1) วิชาแกน

9 หน่วยกิต

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

2) วิชาเฉพาะ

14 หน่วยกิต

10150165

การรักษาโรคเบื้องต้นสำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
Primary Medical Care for Community Nurse Practitioner

3(3-0-6)

10150265

การพยาบาลชุมชนขั้นสูง
Advanced Community Nursing

2(2-0-4)

10150365

วิทยาการระบาดสำหรับการพยาบาลชุมชน
Epidemiology for Community Nursing

2(2-0-4)

10150465

การจัดการโรคเรื้อรังสำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
Chronic Disease Management for Community Nurse Practitioner

2(1-3-2)

10160565

ปฏิบัติการรักษาโรคเบื้องต้นสำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
Practicum in Primary Medical Care for Community Nurse Practitioner

3(0-9-3)

10160665

ปฏิบัติการพยาบาลชุมชนขั้นสูง
Practicum in Advanced Community Nursing

2(0-6-2)

หมวดวิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

รายวิชาสำหรับการพัฒนาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน สาขาย่อย

10150765

การพยาบาลชุมชนในกลุ่มเฉพาะ
Community Nursing in the Aggregates

3(2-3-4)

10150865

การพยาบาลอาชีวอนามัย
Occupational Health Nursing

3(2-3-4)

10150965

ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
Health Literacy

3(2-3-4)

10760165

การจัดการทางการพยาบาล
Nursing Management

3(2-3-4)

10760265

การสอนทางการพยาบาล
Teaching in Nursing

3(2-3-4)

10760365

การพัฒนาบทบาทผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง
Advanced Practice Nursing Role Development

3(2-3-4)

        นอกจากนี้นิสิตสามารถเลือกเรียนรายวิชาอื่น ๆ เพิ่ม ในระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดในสถาบัน หรือนอกสถาบันที่มหาวิทยาลัยบูรพารับรอง
ทั้งนี้ ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ

หมวดวิทยานิพนธ์

12 หน่วยกิต

10169965

วิทยานิพนธ์
Thesis

12(0-0-36)

วัน-เวลาการเรียน

แบบเต็มเวลา เรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน)
แบบไม่เต็มเวลา เรียนวันและนอกเวลาราชการ (วันเสาร์และวันอาทิตย์) และเรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน กรณีรายวิชาปฏิบัติ)

ทุนการศึกษา

1. ทุนการทำวิทยานิพนธ์

2. ทุนการศึกษา เพื่อต่อยอดเป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สิ่งสนับสนุน

1. มีอาคารเรียนและห้องเรียนที่เหมาะสมกับการเรียนระดับบัณฑิตศึกษามีอุปกรณ์โสตที่เพียงพอและพร้อมใช้

2. มีห้องทำงานหรือห้องศึกษาสำหรับผู้เรียนอย่างเหมาะสม เป็นสัดส่วนและเอื้อต่อการเรียนรู้ของนิสิต

3. มีห้องทำงานอาจารย์ที่เหมาะสม เป็นสัดส่วน และเอื้อต่อการทำงานและให้การปรึกษาแก่ผู้เรียน

4. มีห้องปฏิบัติการพยาบาลเฉพาะสาขาวิชาตามหลักสูตร และมีอุปกรณ์เพียงพอในการฝึกทักษะขั้นสูง

   4.1 ห้องปฎิบัติการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ

   4.2 ห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับหุ่นจำลองเสมือนจริงขั้นสูง (Simulation Lab)

5. มีคอมพิวเตอร์จำนวนที่เพียงพอ และทันสมัยสำหรับผู้เรียนทุกคน เพื่อการค้นคว้าโดยเฉพาะ

6. มีสำนักห้องสมุดที่มีตำรา และหนังสือที่ทันสมัย ทางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร หรือมีอิเล็กทรอนิกส์บุ๊ค วารสารวิชาชีพการพยาบาล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ วารสารทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและการพยาบาลและฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์วิทยานิพนธ์ ทั้งในและต่างประเทศที่ทันสมัยอย่างเพียงพอ และสามารถสืบค้นได้ตลอดเวลา

7. มีแหล่งฝึกวิชาปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผู้เรียนปริญญาโทตรงตามสาขาวิชาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และ มีจำนวนผู้ป่วย/ผู้รับบริการเพียงพอสำหรับการฝึกปฏิบัติ


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2567

รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์
Assoc. Prof. Dr.Rungrat Srisuriyawate

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102842
email : rungrat@go.buu.ac.th, rungrat@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.พรนภา หอมสินธุ์
Assoc. Prof. Dr.Pornnapa Homsin

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102842
email : phomsin09@gmail.com, pornnapa@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณรัตน์ ลาวัง
Assoc. Prof. Dr.Wannarat Lawang

Ph.D. (Health Sciences)

โทร : 038-102843
email : lawang@go.buu.ac.th, lawang@buu.ac.th

Profile

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์
Assoc. Prof. Dr.Rungrat Srisuriyawate

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102842
email : rungrat@go.buu.ac.th, rungrat@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.พรนภา หอมสินธุ์
Assoc. Prof. Dr.Pornnapa Homsin

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102842
email : phomsin09@gmail.com, pornnapa@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณรัตน์ ลาวัง
Assoc. Prof. Dr.Wannarat Lawang

Ph.D. (Health Sciences)

โทร : 038-102843
email : lawang@go.buu.ac.th, lawang@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ
Assoc. Prof. Dr.Chanandchidadussadee Toonsiri

ปร.ด. (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข)

โทร : 038-102844
email : stoonsiri@yahoo.com, siriporn@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสากร กรุงไกรเพชร
Asst. Prof. Dr.Nisakorn Krungkraipetch

Dr.P.H. (Public Health Nursing)

โทร : 038-102840
email : nisakorn@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์ พูลทวี
Asst. Prof. Dr.Patcharin Poonthawe

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102844
email : larnkha@gmail.com, patcharh@buu.ac.th

Profile

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

แบบเต็มเวลา 134,400 บาท แบ่งชำระ 4 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,600 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,600 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

33,600 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,600 บาท

แบบไม่เต็มเวลา 168,000 บาท แบ่งชำระ 6 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,000 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

18,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 5

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 6

18,000 บาท

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น (First Year, First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10150165

การรักษาโรคเบื้องต้นสำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
Primary Medical Care for Community Nurse Practitioner

3(3-0-6)

วิชาเฉพาะ

10150265

การพยาบาลชุมชนขั้นสูง
Advanced Community NursingI

2(2-0-4)

จำนวนหน่วยกิตรวม

9


ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย (First Year, Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

วิชาเฉพาะ

10150365

วิทยาการระบาดสำหรับการพยาบาลชุมชน
Epidemiology for Community Nursing

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10150465

การจัดการโรคเรื้อรังสำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
Chronic Disease Management for Community Nurse Practitioner

2(1-3-2)

จำนวนหน่วยกิตรวม

9


ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน (First Year, Summer Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเลือก

101xxxxx

วิชาเลือก

3(x-x-x)

จำนวนหน่วยกิตรวม

3


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น (Second Year, First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

10160565

ปฏิบัติการรักษาโรคเบื้องต้นสำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
Practicum in Primary Medical Care for Community Nurse Practitioner

3(0-9-3)

วิชาเฉพาะ

10160665

ปฏิบัติการพยาบาลชุมชนขั้นสูง
Practicum in Advanced Community Nursing

2(0-6-2)

วิทยานิพนธ์

10169965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

11


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย (Second Year, Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

10169965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

6



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

PLO 1

มีคุณธรรม จริยธรรม ตัดสินใจในการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนบนพื้นฐานของจรรยาบรรณ กฎหมาย และมาตรฐานการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์

PLO 2

อธิบายเชื่อมโยงศาสตร์ทางการพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนได้

PLO 3

สร้างสรรค์งานวิจัยหรือนวัตกรรมสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน

PLO 4

บูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง หลักฐานเชิงประจักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประสบการณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนแก่ผู้รับบริการทั้งระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนในทุกพลวัตรทางสุขภาพ โดยคำนึงถึงพหุวัฒนธรรม บนพื้นฐานหลักการด้านคุณภาพและความปลอดภัยตามมาตรฐานวิชาชีพ

PLO 5

มีภาวะผู้นำ ทักษะการประสานความร่วมมือ ทักษะการบริหารจัดการดูแลสุขภาพตามแนวคิดอย่างผู้ประกอบการ มีความไวเชิงวัฒนธรรม มีการพัฒนาตนเองและเรียนรู้ มีจิตสาธารณะ รวมทั้งให้คุณค่าต่อตนเองและต่อวิชาชีพการพยาบาล

PLO 6

มีทักษะการสื่อสารทางสุขภาพกับผู้รับบริการ ทีมสหสาขาวิชาชีพ และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง

PLO 7

มีทักษะการจัดการข้อมูล เลือกและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีดิจิทัล และชีวสถิติในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2565

# รายการ ไฟล์แก้ไข ไฟล์ PDF
1. มคอ.2 -

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต

มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม

1. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น 1 หรือการพยาบาล ชั้น 1

2. มีประสบการณ์การทำงานพยาบาลอย่างน้อย 1 ปี นับถึงวันที่สมัคร

3. มีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

กรณีผู้เข้าศึกษาไม่มีสัญชาติไทย ต้องสำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ หรือเทียบเท่า และได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลโดยสภาวิชาชีพ หรือองค์กรที่รับผิดชอบในประเทศของผู้สมัคร กรณีไม่มีระบบการให้ใบอนุญาต ต้องมีใบรับรอง การขึ้นทะเบียนในประเทศของผู้สมัคร หรือรับรองโดยหน่วยงานกำกับดูแลวิชาชีพพยาบาล (Nursing Regulatory Authority) ในประเทศของผู้สมัคร

4. ในกรณีที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามที่กล่าวข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร

สนใจเข้าศึกษาต่อ สามารถสมัครผ่านทาง Online ได้ที่ http://e-admission.buu.ac.th

หรือสมัครด้วยตนเองที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา ชั้น 7 อาคาร 50 ปี ศาสตราจารย์ประยูร จินดาประดิษฐ์
สอบถามข้อมูลการรับสมัครได้ที่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 038-102700 ต่อ 705, 707
เว็บไซต์ : http://grd.buu.ac.th/wordpress/

สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรเพิ่มเติมได้ที่ งานบริการการศึกษา (บัณฑิตศึกษา) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 038-102805, 038-102875
เว็บไซต์ : http://www.nurse.buu.ac.th
Facebook : https://www.facebook.com/gradnursebuu

หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

หน่วยงาน/สถาบัน :

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

หลักสูตรผ่านการรับรองโดย :

สภามหาวิทยาลัยบูรพา ได้อนุมัติหลักสูตร เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

สภาการพยาบาล ได้รับรองหลักสูตร เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2565

ชื่อวุฒิ :

ภาษาไทย: หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต

ภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science Program in Psychiatric and Mental Health Nursing

ชื่อปริญญา :

ชื่อปริญญาภาษาไทย: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต)

ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science (Psychiatric and Mental Health Nursing)

ชื่อย่อปริญญา :

อักษรย่อภาษาไทย: พย.ม. (การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ: M.N.S. (Psychiatric and Mental Health Nursing)

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร :

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้แล้ว ผู้สำเร็จการศึกษาจะมีสมรรถนะ ดังนี้
1. มีคุณธรรมจริยธรรม มีจิตสาธารณะ มีทักษะการตัดสินใจเชิงคุณธรรมจริยธรรม และมีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพพยาบาล มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เพื่อเป็นแบบอย่างและสามารถปฏิบัติงานได้ดี
2. อธิบายสาระสำคัญของศาสตร์ทางการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต กระบวนการวิจัยและสถิติ รวมทั้งศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
3. ประยุกต์ศาสตร์ทางการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตกับศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง กระบวนการวิจัยและสถิติ หลักฐานเชิงประจักษ์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เทคโนโลยีที่ทันสมัย ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการดูแลสุขภาพทางเลือกเพื่อคัดกรอง และประเมินภาวะสุขภาพของผู้รับบริการที่มีปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มเสี่ยง หรือผู้ที่เจ็บป่วยทางจิตทั้งรายบุคคล รายกลุ่ม ครอบครัว และชุมชน
4. ออกแบบการปฏิบัติการพยาบาลหรือนวัตกรรมทางการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตที่เหมาะสมสำหรับบุคคล กลุ่มเสี่ยง ผู้เจ็บป่วยทางจิต ทั้งรายบุคคล รายกลุ่ม ครอบครัว และชุมชน ทั้งในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิที่เหมาะสมกับบริบทสังคมและวัฒนธรรม โดยคำนึงถึงคุณค่าความเป็นมนุษย์ ความหลากหลายของวัฒนธรรมและหลักเศรษฐกิจพอเพียง ขอบเขตของกฎหมายและข้อกำหนดของวิชาชีพ
5. ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อดูแลภาวะสุขภาพจิตของประชาชนในทุกช่วงวัย และส่งเสริมศักยภาพของผู้รับบริการที่มีปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มเสี่ยง หรือผู้ที่เจ็บป่วยทางจิตทั้งรายบุคคล ครอบครัว และชุมชนทั้งในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิอย่างเป็นองค์รวม คำนึงถึงบริบทสังคม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความปลอดภัย ความสมเหตุผล ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าคุ้มทุน ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย จรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพ
6. คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างสรรค์เพื่อพัฒนางานวิจัยหรือนวัตกรรม และนำผลการวิจัยหรือนวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต และระบบบริการสุขภาพ รวมทั้งมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยและแลกเปลี่ยนความรู้ใหม่ๆ ทั้งในและนอกองค์กรอย่างมีมาตรฐาน
7. ประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัลทางสุขภาพให้ทันสมัยและเหมาะสมในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
8. สามารถสื่อสาร สร้างสัมพันธภาพ ทำงานเป็นทีม ให้คำปรึกษาทางวิชาการ และประสานความร่วมมือกับทีมสุขภาพ สหวิชาชีพหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9. มีภาวะผู้นำ มีทักษะด้านการบริหารจัดการ และการเป็นผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
10. แสวงหาความรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

โครงสร้างหลักสูตร และจำนวนหน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 2

ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชาบังคับ

21 หน่วยกิต

วิชาแกน

9 หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

12 หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า

3 หน่วยกิต

หมวดวิทยานิพนธ์

12 หน่วยกิต

หมวดวิชาบังคับ

21 หน่วยกิต

1) วิชาแกน

9 หน่วยกิต

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

2) วิชาเฉพาะ

12 หน่วยกิต

10650165

พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาเพื่อการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง
Pathophysiology and Pharmacology for Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing

2(2-0-4)

10650265

การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง 1
Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing I

2(2-0-4)

10650365

การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง 2
Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing II

2(2-0-4)

10650465

การปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง 1
Practicum for Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing I

3(0-9-3)

10660565

การปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง 2
Practicum for Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing II

3(0-9-3)

หมวดวิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

10660965

สัมมนาวิจัยทางการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง
Research Seminar in Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing

3(3-0-6)

10661065

การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูงสำหรับผู้สูงอายุ
Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing for Older Adults

3(3-0-6)

10661165

พุทธศาสนาเพื่อการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง
Buddhism for Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing

3(3-0-6)

10661265

จิตวิทยาเชิงบวกประยุกต์เพื่อสุขภาวะองค์รวม
Applied Positive Psychology for Holistic Well-Being

3(3-0-6)

10661365

การบำบัดทางการพยาบาลที่เน้นการหาทางออกเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
Solution-Focused Nursing Intervention for Health Behavior Modification

3(3-0-6)

10760165

การจัดการทางการพยาบาล
Nursing Management

3(2-3-4)

10760265

การสอนทางการพยาบาล
Teaching in Nursing

3(2-3-4)

10760365

การพัฒนาบทบาทผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง
Advanced Practice Nursing Role Development

3(2-3-4)

        นอกจากนี้นิสิตสามารถเลือกเรียนรายวิชาอื่น ๆ เพิ่ม ในระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดในสถาบัน หรือนอกสถาบันที่มหาวิทยาลัยบูรพารับรอง ทั้งนี้ ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ

หมวดวิทยานิพนธ์

12 หน่วยกิต

10669965

วิทยานิพนธ์
Thesis

12(0-0-36)

วัน-เวลาการเรียน

แบบเต็มเวลา เรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน)

แบบไม่เต็มเวลา เรียนวันและนอกเวลาราชการ (วันเสาร์และวันอาทิตย์) และเรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน กรณีรายวิชาปฏิบัติ)

คุณสมบัติเฉพาะของผู้เข้าศึกษา

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต

มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม ดังนี้

1. มีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา เรื่อง การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2562 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ถ้ามี)

2. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการพยาบาลหรือเทียบเท่า และมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขาการพยาบาลหรือสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง

3. มีคะแนนเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่น้อยกว่า 2.50

4. มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการพยาบาลหลังสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ไม่น้อยกว่า 1 ปี (นับถึงวันสมัคร)

5. ในกรณีที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามที่กล่าวข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการประจำหลักสูตรฯ

ทุนการศึกษา

1. ทุนการทำวิทยานิพนธ์

2. ทุนการศึกษา เพื่อต่อยอดเป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สิ่งสนับสนุน

1. มีอาคารเรียนและห้องเรียนที่เหมาะสมกับการเรียนระดับบัณฑิตศึกษามีอุปกรณ์โสตที่เพียงพอและพร้อมใช้

2. มีห้องทำงานหรือห้องศึกษาสำหรับผู้เรียนอย่างเหมาะสม เป็นสัดส่วนและเอื้อต่อการเรียนรู้ของนิสิต

3. มีห้องทำงานอาจารย์ที่เหมาะสม เป็นสัดส่วน และเอื้อต่อการทำงานและให้การปรึกษาแก่ผู้เรียน

4. มีห้องปฏิบัติการพยาบาลเฉพาะสาขาวิชาตามหลักสูตร และมีอุปกรณ์เพียงพอในการฝึกทักษะขั้นสูง

4.1 ห้องปฎิบัติการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ

4.2 ห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับหุ่นจำลองเสมือนจริงขั้นสูง (Simulation Lab)

5. มีคอมพิวเตอร์จำนวนที่เพียงพอ และทันสมัยสำหรับผู้เรียนทุกคน เพื่อการค้นคว้าโดยเฉพาะ

6. มีสำนักห้องสมุดที่มีตำรา และหนังสือที่ทันสมัย ทางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร หรือมีอิเล็กทรอนิกส์บุ๊ค วารสารวิชาชีพการพยาบาล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ วารสารทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและการพยาบาลและฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์วิทยานิพนธ์ ทั้งในและต่างประเทศที่ทันสมัยอย่างเพียงพอ และสามารถสืบค้นได้ตลอดเวลา

7. มีแหล่งฝึกวิชาปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผู้เรียนปริญญาโทตรงตามสาขาวิชาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และ มีจำนวนผู้ป่วย/ผู้รับบริการเพียงพอสำหรับการฝึกปฏิบัติ


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2567

รองศาสตราจารย์ ดร.พิชามญชุ์ อินทะพุฒ
Assoc. Prof. Dr.Pichamon Intaput

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102867
email : mouth.mind@gmail.com, rodjana@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงใจ วัฒนสินธุ์
Assoc. Prof. Dr.Duangjai Vatanasin

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102865
email : duangjaivat@yahoo.com, duangjai@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพรรณ ศรีโสภา
Asst. Prof. Dr.Pornpan Srisopa

Ph.D. (Philosophy of Nursing)

โทร : 038-102839
email : pornpan@go.buu.ac.th, pornpan@buu.ac.th

Profile

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงใจ วัฒนสินธุ์
Assoc. Prof. Dr.Duangjai Vatanasin

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102865
email : duangjaivat@yahoo.com, duangjai@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ร.อ.หญิง ดร.ชนัดดา แนบเกษร
Assoc. Prof. Capt. Dr.Chanudda Nabkasorn

Ph.D. (Medical Nursing)

โทร : 038-102867
email : chanuddan@yahoo.com, chanudda@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพรรณ ศรีโสภา
Asst. Prof. Dr.Pornpan Srisopa

Ph.D. (Philosophy of Nursing)

โทร : 038-102839
email : pornpan@go.buu.ac.th, pornpan@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์
Assoc. Prof. Dr.Pornpat Hengudomsub

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102807
email : pornpat12@yahoo.com, pornpath@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.จิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส
Assoc. Prof. Dr.Jinjutha Chaisena Dallas

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102867
email : jinjuthatawan@gmail.com, jinjutha@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.พิชามญชุ์ อินทะพุฒ
Assoc. Prof. Dr.Pichamon Intaput

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102867
email : mouth.mind@gmail.com, rodjana@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.นุจรี ไชยมงคล
Assoc. Prof. Dr.Nujjaree Chaimongkol

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102222
email : nujjaree@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.พรนภา หอมสินธุ์
Assoc. Prof. Dr.Pornnapa Homsin

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102842
email : phomsin09@gmail.com, pornnapa@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เขมารดี มาสิงบุญ
Asst. Prof. Dr.Khemaradee Masingboon

D.S.N.

โทร : 038-102835
email : Khemarad@hotmail.com, khemaradee@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ
Assoc. Prof. Dr.Chanandchidadussadee Toonsiri

ปร.ด. (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข)

โทร : 038-102844
email : stoonsiri@yahoo.com, siriporn@buu.ac.th

Profile

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

แบบเต็มเวลา 132,000 บาท แบ่งชำระ 4 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,000 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,000 บาท

แบบไม่เต็มเวลา 165,000 บาท แบ่งชำระ 6 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,000 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

16,500 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 5

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 6

16,500 บาท


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตรฯ (PLOs)

PLO 1.1

แสดงพฤติกรรมที่สะท้อนถึงความมีคุณธรรม จริยธรรมการวิจัย จริยธรรมเชิงวิชาการ

PLO 1.2

สามารถวิเคราะห์และตัดสินใจบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชหรือผู้รับบริการ

PLO 1.3

ให้คำปรึกษาและชี้แนะทางกฎหมายและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพพิทักษ์สิทธิเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วยจิตเวชหรือผู้รับบริการ

PLO 2.1

อธิบายในศาสตร์การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตและศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง รวมทั้งกระบวนการวิจัยและสถิติ

PLO 2.2

วิเคราะห์อย่างลึกซึ้งในศาสตร์การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง รวมทั้งกระบวนการวิจัยและสถิติ

PLO 3.1

สามารถคิดเชิงวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ

PLO 3.2

สามารถบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักฐานเชิงประจักษ์ ประสบการณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชหรือผู้รับบริการ ที่มีปัญหาซับซ้อนหรือปัญหาที่คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้น

PLO 3.3

เลือกใช้เครื่องมือในการประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาลที่เหมาะสม

PLO 3.4

สามารถจัดการผลลัพธ์ทางการพยาบาลและระบบสุขภาพ พัฒนาศักยภาพผู้ป่วยจิตเวช หรือผู้รับบริการและครอบครัวให้สามารถประเมินและจัดการปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

PLO 3.5

เป็นพี่เลี้ยงหรือต้นแบบในการปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชแลสุขภาพจิตขั้นสูง

PLO 3.6

ประยุกต์หลักการด้านคุณภาพและความปลอดภัยมาใช้ในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชหรือผู้รับบริการ และครอบครัวที่อยู่ในความรับผิดชอบ

PLO 3.7

สามารถวิเคราะห์และประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการดูแลสุขภาพทางเลือกมาใช้

PLO 3.8

สามารถทำวิจัย/โครงการ/สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต

PLO 4.1

แสดงภาวะผู้นำ สามารถริเริ่มการเปลี่ยนแปลง ทำงานร่วมกับทีมสุขภาพและผู้ที่เกี่ยวข้อง

PLO 4.2

มีความไวเชิงวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ป่วยจิตเวชหรือผู้รับบริการ

PLO 4.3

มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองรวมทั้งวิชาชีพและสังคมได้อย่างต่อเนื่อง

PLO 4.4

มีความภาคภูมิใจและสร้างคุณค่าของวิชาชีพ สร้างวัฒนธรรมในการทำงานที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ

PLO 5.1

มีทักษะขั้นสูงในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพื่อนำไปปรับปรุงคุณภาพการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต

PLO 5.2

วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล เพื่อการติดตามเฝ้าระวังและการจัดการกับความเสี่ยง

PLO 5.3

สามารถติดต่อสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษกับผู้ป่วย/ ผู้รับบริการ/ ทีมพยาบาลและ ทีมสหสาขาวิชาชีพ

PLO 5.4

เผยแพร่ผลงานและแลกเปลี่ยนความรู้ใหม่ๆ ทั้งในและนอกองค์กรอย่างมีมาตรฐาน


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น (First Year, First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10650165

พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาเพื่อการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง
Pathophysiology and Pharmacology for Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10650265

การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง 1
Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing I

2(2-0-4)

จำนวนหน่วยกิตรวม

8


ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย (First Year, Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

วิชาเฉพาะ

10650365

การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง 2
Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing II

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10650465

การปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง 1
Practicum for Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing I

3(0-9-3)

จำนวนหน่วยกิตรวม

10


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น (Second Year, First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

10660565

การปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตขั้นสูง 2
Practicum for Advanced Psychiatric and Mental Health Nursing II

3 (0-9-3)

วิชาเฉพาะ

xxxxxxxx

วิชาเลือก

3(x-x-x)

วิทยานิพนธ์

10669965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

12


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย (Second Year, Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

10669965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

6



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2565

# รายการ ไฟล์แก้ไข ไฟล์ PDF
1. มคอ.2 -

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2566

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต

มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม

1. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น 1 หรือการพยาบาล ชั้น 1

2. มีประสบการณ์การทำงานพยาบาลอย่างน้อย 1 ปี นับถึงวันที่สมัคร

3. มีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

กรณีผู้เข้าศึกษาไม่มีสัญชาติไทย ต้องสำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ หรือเทียบเท่า และได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลโดยสภาวิชาชีพ หรือองค์กรที่รับผิดชอบในประเทศของผู้สมัคร กรณีไม่มีระบบการให้ใบอนุญาต ต้องมีใบรับรอง การขึ้นทะเบียนในประเทศของผู้สมัคร หรือรับรองโดยหน่วยงานกำกับดูแลวิชาชีพพยาบาล (Nursing Regulatory Authority) ในประเทศของผู้สมัคร

4. ในกรณีที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามที่กล่าวข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร

สนใจเข้าศึกษาต่อ สามารถสมัครผ่านทาง Online ได้ที่ http://e-admission.buu.ac.th

หรือสมัครด้วยตนเองที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา ชั้น 7 อาคาร 50 ปี ศาสตราจารย์ประยูร จินดาประดิษฐ์
สอบถามข้อมูลการรับสมัครได้ที่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 038-102700 ต่อ 705, 707
เว็บไซต์ : http://grd.buu.ac.th/wordpress/

สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรเพิ่มเติมได้ที่ งานบริการการศึกษา (บัณฑิตศึกษา) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 038-102805, 038-102875
เว็บไซต์ : http://www.nurse.buu.ac.th
Facebook : https://www.facebook.com/gradnursebuu

หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2566

หน่วยงาน/สถาบัน

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

หลักสูตรผ่านการรับรองโดย

สภามหาวิทยาลัยบูรพา ได้อนุมัติหลักสูตร เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2564

สภาการพยาบาล ได้รับรองหลักสูตร เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2565

ชื่อวุฒิ

ภาษาไทย: หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

ภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science Program in Adult and Gerontological Nursing

ชื่อปริญญา

ชื่อปริญญาภาษาไทย: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ)

ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science (Adult and Gerontological Nursing)

ชื่อย่อปริญญา

อักษรย่อภาษาไทย: พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ)

อักษรย่อภาษาอังกฤษ: M.N.S. (Adult and Gerontological Nursing)

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้แล้ว ผู้สำเร็จการศึกษาจะมีสมรรถนะ ดังนี้

1. มีคุณธรรมจริยธรรม ทักษะ และความกล้าหาญในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ การวิจัย และเชิงวิชาการ

2. มีความรอบรู้อย่างลึกซึ้งในศาสตร์ทางการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาล

3. สามารถบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาล ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และหลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาล การพัฒนาโครงการหรือนวัตกรรมเพื่อการดูแลผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุและครอบครัว ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาตะวันออก จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมาย ภายใต้มาตรฐานวิชาชีพ

4. สามารถทําวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยซับซ้อนและครอบครัวได้

5. มีภาวะผู้นำ สามารถทำงานร่วมกับทีมสุขภาพ ประสานความร่วมมือ และบริหารจัดการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและวิชาชีพ

6. มีทักษะในการเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะการสื่อสาร และการจัดการสารสนเทศ เพื่อนำไปใช้ในการวิจัย ปรับปรุงคุณภาพและระบบการพยาบาล

7. พัฒนาตนเอง แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และมีความรับผิดชอบต่อวิชาชีพและสังคม

โครงสร้างหลักสูตร และจำนวนหน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 2

ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชาบังคับ

21 หน่วยกิต

วิชาแกน

9 หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

12 หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า

3 หน่วยกิต

หมวดวิทยานิพนธ์

12 หน่วยกิต

หมวดวิชาบังคับ

21 หน่วยกิต

1) วิชาแกน

9 หน่วยกิต

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

2) วิชาเฉพาะ

12 หน่วยกิต

10350165

พยาธิสรีรวิทยาเพื่อการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
Pathophysiology for Adult and Gerontological Nursing

2(2-0-4)

10350265

การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง
Advanced Adult and Gerontological Nursing

2(2-0-4)

10350365

การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
Quality Improvement for Adult and Gerontological Nursing

2(2-0-4)

10350465

ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 1
Practicum in Advanced Adult and Gerontological Nursing I

3(0-9-3)

10660565

ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 2
Practicum in Advanced Adult and Gerontological Nursing II

3(0-9-3)

หมวดวิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

10360665

สัมมนาทางการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
Seminar in Adult and Gerontological Nursing

3(3-0-6)

10360765

สารสนเทศทางการพยาบาลและระบบริการสุขภาพ
Informatics in Nursing and Healthcare system

3(3-0-6)

10360865

การจัดการทางคลินิกสำหรับการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
Clinical Management for Adult and Gerontological Nursing

3(2-3-4)

10760165

การจัดการทางการพยาบาล
Nursing Management

3(2-3-4)

10760265

การสอนทางการพยาบาล
Teaching in Nursing

3(2-3-4)

10760365

การพัฒนาบทบาทผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง
Advanced Practice Nursing Role Development

3(2-3-4)

        นอกจากนี้นิสิตสามารถเลือกเรียนรายวิชาอื่น ๆ เพิ่ม ในระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดในสถาบัน หรือนอกสถาบันที่มหาวิทยาลัยบูรพารับรอง ทั้งนี้ ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ

หมวดวิทยานิพนธ์

12 หน่วยกิต

10369965

วิทยานิพนธ์
Thesis

12(0-0-36)

วัน-เวลาการเรียน

แบบเต็มเวลา เรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน)

แบบไม่เต็มเวลา เรียนวันและนอกเวลาราชการ (วันเสาร์และวันอาทิตย์) และเรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน กรณีรายวิชาปฏิบัติ)

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต

มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม ดังนี้

1. มีคุณสมบัติครบถ้วนตาม ข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา เรื่อง การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2562 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ถ้ามี)

2. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการพยาบาลหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สภาการพยาบาลให้การรับรอง และมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขาการพยาบาลหรือสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง

3. มีคะแนนเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่น้อยกว่า 2.50

4. มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการพยาบาลหลังสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ไม่น้อยกว่า 1 ปี (นับถึงวันสมัคร)

5. กรณีนิสิตต่างชาติ สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ดี

6. ในกรณีที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามที่กล่าวข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ

ทุนการศึกษา

1. ทุนการทำวิทยานิพนธ์

2. ทุนการศึกษา เพื่อต่อยอดเป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สิ่งสนับสนุน

1. มีอาคารเรียนและห้องเรียนที่เหมาะสมกับการเรียนระดับบัณฑิตศึกษามีอุปกรณ์โสตที่เพียงพอและพร้อมใช้

2. มีห้องทำงานหรือห้องศึกษาสำหรับผู้เรียนอย่างเหมาะสม เป็นสัดส่วนและเอื้อต่อการเรียนรู้ของนิสิต

3. มีห้องทำงานอาจารย์ที่เหมาะสม เป็นสัดส่วน และเอื้อต่อการทำงานและให้การปรึกษาแก่ผู้เรียน

4. มีห้องปฏิบัติการพยาบาลเฉพาะสาขาวิชาตามหลักสูตร และมีอุปกรณ์เพียงพอในการฝึกทักษะขั้นสูง

4.1 ห้องปฎิบัติการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ

4.2 ห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับหุ่นจำลองเสมือนจริงขั้นสูง (Simulation Lab)

5. มีคอมพิวเตอร์จำนวนที่เพียงพอ และทันสมัยสำหรับผู้เรียนทุกคน เพื่อการค้นคว้าโดยเฉพาะ

6. มีสำนักห้องสมุดที่มีตำรา และหนังสือที่ทันสมัย ทางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร หรือมีอิเล็กทรอนิกส์บุ๊ค วารสารวิชาชีพการพยาบาล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ วารสารทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและการพยาบาลและฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์วิทยานิพนธ์ ทั้งในและต่างประเทศที่ทันสมัยอย่างเพียงพอ และสามารถสืบค้นได้ตลอดเวลา

7. มีแหล่งฝึกวิชาปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผู้เรียนปริญญาโทตรงตามสาขาวิชาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และ มีจำนวนผู้ป่วย/ผู้รับบริการเพียงพอสำหรับการฝึกปฏิบัติ


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2567

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา ฉันทมิตรโอภาส
Asst. Prof. Dr.Chutima Chantamit-O-Pas

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102835
email : chutimachantamit@hotmail.com, kpchutima@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายฝน ม่วงคุ้ม
Asst. Prof. Dr.Saifone Moungkum

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102832
email : saifone@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิภา วิเสโส
Asst. Prof. Dr.Wipa Wiseso

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102832
email : wi_wiseso@hotmail.co.th, wiseso@buu.ac.th

Profile

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา ฉันทมิตรโอภาส
Asst. Prof. Dr.Chutima Chantamit-O-Pas

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102835
email : chutimachantamit@hotmail.com, kpchutima@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายฝน ม่วงคุ้ม
Asst. Prof. Dr.Saifone Moungkum

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102832
email : saifone@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิภา วิเสโส
Asst. Prof. Dr.Wipa Wiseso

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102832
email : wi_wiseso@hotmail.co.th, wiseso@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิชา พลพินิจ
Asst. Prof. Dr.Panicha Ponpinij

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102832
email : ponpanicha@nurse.buu.ac.th, somjit@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.นิภาวรรณ สามารถกิจ
Assoc. Prof. Dr.Niphawan Samartkit

ปร.ด. (การพยาบาล)

โทร : 038-102835
email : niphawan@buu.ac.th,

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เขมารดี มาสิงบุญ
Asst. Prof. Dr.Khemaradee Masingboon

D.S.N.

โทร : 038-102835
email : Khemarad@hotmail.com, khemaradee@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ร.อ.หญิง ดร.ชนัดดา แนบเกษร
Assoc. Prof. Capt. Dr.Chanudda Nabkasorn

Ph.D. (Medical Nursing)

โทร : 038-102867
email : chanuddan@yahoo.com, chanudda@buu.ac.th

Profile


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2565

แบบเต็มเวลา 132,000 บาท แบ่งชำระ 4 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,000 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,000 บาท

แบบไม่เต็มเวลา 165,000 บาท แบ่งชำระ 6 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,000 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

16,500 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 5

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 6

16,500 บาท

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตรฯ (PLOs)
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม

PLO 1 มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ทักษะและกล้าหาญในการตัดสินใจ โดยคำนึงถึงมาตราฐานวิชาชีพ เชิงจริยธรรมการวิจัยและวิชาการ

        PLO 1.1 แสดงพฤติกรรมที่สะท้อนถึงความมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ทักษะและกล้าหาญในการตัดสินใจ เชิงจริยธรรมการวิจัยและวิชาการ
        PLO 1.2 สามารถวิเคราะห์และตัดสินใจบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการในกลุ่มผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
        PLO 1.3 ให้คำปรึกษาและชี้แนะทางกฎหมายและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพพิทักษ์สิทธิเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการในกลุ่มผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

2. ด้านความรู้

PLO 2 อธิบายและวิเคราะห์ในศาสตร์การพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง

        PLO 2.1 อธิบายในศาสตร์การพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง รวมทั้งกระบวนการวิจัยและสถิติ
        PLO 2.2 วิเคราะห์อย่างลึกซึ้งในศาสตร์การพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง รวมทั้งกระบวนการวิจัยและสถิติ

3. ด้านทักษะทางปัญญา

PLO 3 ปฎิบัติการพยาบาลขั้นสูง การพัฒนาโครงการ หรือ นวัตกรรม รวมทั้งสร้างงานวิจัยทางการพยาบาล โดยบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาล และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อตอบสนองปัญหาสุขภาพของผู้ใหญ่และผู้สูงอายุในภาวะเจ็บป่วยวิกฤต เฉียบพลัน เรื้อรังและระยะสุดท้ายของชีวิตและครอบครัว พัฒนาคุณภาพการพยาบาล ผลลัพธ์ทางการพยาบาล และผลลัพธ์ทางคลินิก โดยคำนึงถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และมาตรฐานของวิชาชีพ

        PLO 3.1 ประเมินภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ วินิจฉัยปัญหาสุขภาพ และตัดสินใจทางคลินิก
        PLO 3.2 ออกแบบโครงการหรือนวัตกรรมที่ตอบสนองประเด็นปัญหาทางสุขภาพผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่มและครอบครัวโดยบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพทางการพยาบาล
        PLO 3.3 ให้การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่มและครอบครัว โดยคำนึงถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาตะวันออก จริยธรรม จรรยาบรรณ และมาตรฐานของวิชาชีพ
        PLO 3.4 เลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการประเมินสุขภาพและผลลัพธ์ทางการพยาบาล และสามารถจัดการผลลัพธ์ทางการพยาบาล และผลลัพธ์ทางคลินิก
        PLO 3.5 จัดการผลลัพธ์ทางการพยาบาลและระบบสุขภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่มและครอบครัวสามารถประเมินและจัดการปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
        PLO 3.6 ประยุกต์หลักการด้านคุณภาพและความปลอดภัยมาใช้ในการดูแลผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่มและครอบครัว
        PLO 3.7 ออกแบบการวิจัยที่ตอบสนองประเด็นปัญหาทางสุขภาพในผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุและครอบครัว
        PLO 3.8 ทำวิจัยทางด้านการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุโดยบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

PLO 4 แสดงออกถึงการมีภาวะผู้นำ สามารถริเริ่มการเปลี่ยนแปลง ทำงานร่วมกับทีมสุขภาพและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีความไวเชิงวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุและครอบครัว พัฒนาตนเอง วิชาชีพ และสังคมอย่างต่อเนื่อง

        PLO 4.1 แสดงออกถึงการเป็นผู้นำ ริเริ่มการเปลี่ยนแปลง ทำงานร่วมกับทีมสุขภาพและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
        PLO 4.2 แสดงออกถึงความไวเชิงวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่มและครอบครัว
        PLO 4.3 แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง รวมทั้งวิชาชีพและสังคมได้อย่างต่อเนื่อง
        PLO 4.4 แสดงออกถึงความภาคภูมิใจและสร้างคุณค่าของวิชาชีพ สร้างวัฒนธรรมในการทำงานที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

PLO 5 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศ ในการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ เลือกและประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และพัฒนาคุณภาพการพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุและครอบครัว รวมทั้งแสดงออกถึงการมีทักษะในการสื่อสาร สามารถนำเสนอผลงาน ถ่ายทอดความรู้ ให้คำปรึกษา กับผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุและครอบครัว และทีมสุขภาพ

        PLO 5.1 สื่อสาร ถ่ายทอดความรู้ ให้คำปรึกษา กับผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ครอบครัว และทีมสุขภาพหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
        PLO 5.2 ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อการสื่อสาร เผยแพร่ผลงาน และแลกเปลี่ยนความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
        PLO 5.3 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างเหมาะสม
        PLO 5.4 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพื่อนำไปปรับปรุงคุณภาพการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่มและครอบครัว
        PLO 5.5 วิเคราะห์ ประมวลผลข้อมูล และนำผลไปใช้ เพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาล



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2565

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น (First Year, First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10350165

พยาธิสรีรวิทยาเพื่อการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
Pathophysiology for Adult and Gerontological Nursing

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10350265

การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง
Advanced Adult and Gerontological Nursing

2(2-0-4)

จำนวนหน่วยกิตรวม

8


ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย (First Year, Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

วิชาเฉพาะ

10350365

การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
Quality Improvement for Adult and Gerontological Nursing

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10350465

ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 1
Practicum in Advanced Adult and Gerontological Nursing I

3(0-9-3)

จำนวนหน่วยกิตรวม

10


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น (Second Year, First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

10360565

ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุขั้นสูง 2
Practicum in Advanced Adult and Gerontological Nursing II

3 (0-9-3)

วิชาเฉพาะ

xxxxxxxx

วิชาเลือก

3(x-x-x)

วิทยานิพนธ์

10369965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

12


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย (Second Year, Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

10369965

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

6



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2565

# รายการ ไฟล์แก้ไข ไฟล์ PDF
1. มคอ.2 -

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2566

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต

มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม

1. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น 1 หรือการพยาบาล ชั้น 1

2. มีประสบการณ์การทำงานพยาบาลอย่างน้อย 1 ปี นับถึงวันที่สมัคร

3. มีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

กรณีผู้เข้าศึกษาไม่มีสัญชาติไทย ต้องสำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ หรือเทียบเท่า และได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลโดยสภาวิชาชีพ หรือองค์กรที่รับผิดชอบในประเทศของผู้สมัคร กรณีไม่มีระบบการให้ใบอนุญาต ต้องมีใบรับรอง การขึ้นทะเบียนในประเทศของผู้สมัคร หรือรับรองโดยหน่วยงานกำกับดูแลวิชาชีพพยาบาล (Nursing Regulatory Authority) ในประเทศของผู้สมัคร

4. ในกรณีที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามที่กล่าวข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร

สนใจเข้าศึกษาต่อ สามารถสมัครผ่านทาง Online ได้ที่ http://e-admission.buu.ac.th

หรือสมัครด้วยตนเองที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา ชั้น 7 อาคาร 50 ปี ศาสตราจารย์ประยูร จินดาประดิษฐ์
สอบถามข้อมูลการรับสมัครได้ที่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 038-102700 ต่อ 705, 707
เว็บไซต์ : http://grd.buu.ac.th/wordpress/

สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรเพิ่มเติมได้ที่ งานบริการการศึกษา (บัณฑิตศึกษา) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 038-102805, 038-102875
เว็บไซต์ : http://www.nurse.buu.ac.th
Facebook : https://www.facebook.com/gradnursebuu

หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)



Master of Nursing Science Program (International program)

          

Institution

Faculty of Nursing, Burapha University

Curriculum accreditation

1. The curriculum is approved by Burapha University Council since November 20th, 2021

2. The curriculum is approved by Thailand Nursing and Midwifery Council since June 20th, 2022

Name of Curriculum

Master of Nursing Science Program (International Program)

Name of Degree

Full degree: Master of Nursing Science

Degree in abbreviation: M.N.S.

Objectives of the curriculum

Graduates will have the following competences at the end of this program's teaching and learning:

1. Possess morality, public mind, decision-making abilities, and ethics in nursing practice as well as a positive attitude about nursing profession and healthy habits and be a good role model and work well

2. Possess a thorough understanding of the subjects of nursing science and associated sciences in nursing practice

3. Possess the ability to use nursing science and associated sciences and combine the use of evidence for effective holistic practice of complicated nursing care in accordance with the law and professional ethics

4. Possess the capacity to think critically, synthetically, creatively, and analytically.

5. Be able to conduct research and develop innovations to increase the quality of nursing care

6. Be able to employ contemporary and relevant information and digital technologies in the field of health

7. Possess the capacity to form relationships. as well as effective health communication

8. Demonstrates leadership, management, and entrepreneurial abilities

9. Work on self-improvement and actively pursue information throughout one's life

Curriculum Structure and Credits

    Number of credit requirements

Plan A type A 2 not less than

36 credits

    Curriculum Structure

Plan A type A 2

Required courses

21 credits

Core courses

9 credits

Specific courses

12 credits

Elective courses not less than

3 credits

Thesis

12 credits

Required courses

21 credits

1. Core course

9 credits

10750165

Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

10750265

Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

10750365

Policy and Health System

2(2-0-4)

10750465

Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

2. Specific courses

12 credits

11150165

Integrated Health Sciences in Nursing*

2(2-0-4)

    (*For student who study in Nursing Administration enroll course 11154365 instead)


Students enroll 4 more courses from a specialty selected pathway

10 Credits

Courses for Community Nursing Pathway

11151165

Advanced Community Nursing I

2(2-0-4)

11151265

Advanced Community Nursing II

2(2-0-4)

11151365

Advanced Community Nursing Practicum I

3(0-9-3)

11161465

Advanced Community Nursing Practicum II

3(0-9-3)

Courses for Maternity Nursing and Midwifery Pathway

11152165

Advanced Maternity Nursing and Midwifery I

2(2-0-4)

11152265

Advanced Maternity Nursing and Midwifery II

2(2-0-4)

11152365

Advanced Maternity Nursing and Midwifery Practicum I

3(0-9-3)

11162465

Advanced Maternity Nursing and Midwifery Practicum II

3(0-9-3)

Courses for Adult Nursing Pathway

11153165

Advanced Adult Nursing I

2(2-0-4)

11153265

Advanced Adult Nursing II

2(2-0-4)

11153365

Advanced Adult Nursing Practicum I

3(0-9-3)

11163465

Advanced Adult Nursing Practicum II

3(0-9-3)

Courses for Gerontological Nursing Pathway

11155165

Advanced Gerontological Nursing I

2(2-0-4)

11155265

Advanced Gerontological Nursing II

2(2-0-4)

11155365

Advanced Gerontological Nursing Practicum I

3(0-9-3)

11165465

Advanced Gerontological Nursing Practicum II

3(0-9-3)

Courses for Psychiatric & Mental Health Nursing Pathway

11156165

Advanced Psychiatric & Mental Health Nursing I

2(2-0-4)

11156265

Advanced Psychiatric & Mental Health Nursing II

2(2-0-4)

11156365

Advanced Psychiatric & Mental Health Nursing Practicum I

3(0-9-3)

11166465

Advanced Psychiatric & Mental Health Nursing Practicum II

3(0-9-3)

Courses for Pediatric Nursing Pathway

11157165

Advanced Pediatric Nursing I

2(2-0-4)

11157265

Advanced Pediatric Nursing II

2(2-0-4)

11157365

Advanced Pediatric Nursing Practicum I

3(0-9-3)

11167465

Advanced Pediatric Nursing Practicum II

3(0-9-3)

Courses for Nursing Administration Pathway

11154165

Human Resource Management in Nursing Organization

2(2-0-4)

11154265

Health Service Management in Health Care Organization

2(2-0-4)

11154365

Leadership and Management in Nursing Organization

2(2-0-4)

11154465

Nursing Administration Practicum

3(0-9-3)

11164565

Health Care Quality Management Practicum

3(0-9-3)

Elective courses not less than

3 credits

10760165

Nursing Management

3(2-3-4)

10760265

Teaching in Nursing

3(2-3-4)

10760365

Advanced Practice Nursing Role Development

3(2-3-4)

11160465

Family and Illness

3(3-0-6)

11160565

Health Behavior and Heath Promotion and Prevention

3(3-0-6)

    *Students can select the other courses at the graduate level which offered in Burapha University or other institutions under the approval of the committee of the program Thesis

12 Credits

11169965

Thesis

12(0-0-36)

Day and Time of Instruction

Instructions are operated during regular business hours and after hours

Qualifications of the Intakes

1. In accordance with university qualifications on graduate education

2. Hold a bachelor's degree in nursing or equivalent and have a professional license in Nursing and midwifery. For non-Thai national, the applicants must complete the bachelor’s degree in nursing or equivalent as well as holding nursing profession license which was approved by professional nursing council or the responsible organization or certified by the Nursing Regulatory Authority in the applicant's country

3. Possess nurse experience at least one year until the date of application

4. The results of English proficiency test scores according to the Burapha University’s requirement

5. In the case that the qualification is not in accordance with 1 to 4, admission is at the discretion of the curriculum board

Scholarships

1. Thesis research scholarship

2. Scholarship as the lecturers of Faculty of Nursing, Burapha University

Facilities

1. There are suitable educational facilities and classrooms for graduate studies, as well as adequate and ready-to-use audio-visual equipment.

2. Students get access to an adequate office or study space. It is appropriate and beneficial to student learning.

3. There is a teacher's office that is appropriate, proportionate, and favorable to working and advising students.

4. In accordance with the curriculum, there are specialized nursing laboratories. With sufficient equipment to practice advanced skills

4.1 Laboratory of Science and Health Sciences

4.2 Advanced Simulation Laboratory

5. There are enough computers for all students to conduct particular research.

6. Burapha Univesity’s library provides current books in nursing, health sciences, and other curriculum-related courses as well as electronic books in nursing profession, Thai and English journals, electronic databases of scientific, medical, and nursing publications, and domestically and globally research database which can be searched at any time

7. There is a source of nursing practice for master's degree students based on their field of study and related disciplines, and there are enough patients/service receivers for practice

ศาสตราจารย์ ดร.จินตนา วัชรสินธุ์
Prof. Dr.Chintana Wacharasin

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102892
email : chintana@buu.ac.th,

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.พรชัย จูลเมตต์
Assoc. Prof. Dr.Pornchai Jullamate

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102809
email : pornchai@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์
Assoc. Prof. Dr.Pornpat Hengudomsub

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102807
email : pornpat12@yahoo.com, pornpath@buu.ac.th

Profile

1st Semester
# Course Title Credits
1 10750165 Nursing Theories and Concepts 2(2-0-4)
2 10750265 Applied Statistics for Nursing Research 2(2-0-4)
3 11150165 Integrated Health Sciences in Nursing
Or 11154365 Leadership and Management in Nursing Organization
2(2-0-4)
4 1115xxxx Theory course number 1 from a selected pathway 2(2-0-4)
Total 8
2nd Semester
# Course Title Credits
1 10750365 Policy and Health System 2(2-0-4)
2 10750465 Nursing Research and Research Utilization 3(3-0-6)
3 1115xxxx Theory course number 2 from a selected pathway 2(2-0-4)
4 1115xxxx Practical course number 1 from a selected pathway 3(0-9-0)
Total 10
3rd Semester
# Course Title Credits
1 1116xxxx Practical course number 2 from a selected pathway 3(0-9-3)
2 111xxxxx Elective course 3(3-0-6)
3 11169960 Thesis 6(0-0-18)
Total 12
4th Semester
# Course Title Credits
1 11169965 Thesis 6(0-0-18)
Total 6
5th Semester until graduation

    - Complete Thesis Paper
    - Taking Oral Thesis Defense
    - Revised Thesis paper and submit to Graduate School
    - Published Thesis in a Peer-Review Journal


Program learning outcomes (PLOs)

PLO 1

Morality and Ethics: Demonstrate integrity in your behavior, nursing practice ethics, research ethics, and academic ethics

PLO 1.1

Nursing practice in accordance with professional ethics and the protection of patients' or service users' rights

PLO 1.2

Analyze and make decisions in health care based on morality, ethics, and professional standards

PLO 1.3

Profession-related legal and ethical guidance

PLO 2

Knowledge and Practical Skills: Nursing practice for complex, holistic health problems and needs using related science and empirical evidence emphasizing human values under the law and professional ethics

PLO 2.1

Analyze nursing science and the sciences related to nursing practice in various fields

PLO 2.2

Evaluate health issues and develop sophisticated, all-encompassing health care. This includes applying quality and safety concepts to health care

PLO 2.3

Nursing practice based on the integration of nursing science and allied sciences, empirical data, and contemporary technology in the treatment of patients or clients with complex situations, stressing human values and being sensitive to service users' cultural variations

PLO 2.4

Use suitable digital tools and technology to evaluate nursing outcomes

PLO 3

Intellectual Skills: Research and innovation in nursing, as well as public dissemination of work

PLO 3.1

Be able to think critically and methodically

PLO 3.2

Conduct research and innovation based on empirical evidence analysis/synthesis, as well as the use of statistics and digital technologies in research to improve the quality of nursing care

PLO 3.3

Research and innovation dissemination by giving a presentation at an academic conference or publishing in national and/or international periodicals

PLO 4

Interpersonal Skills and Responsibility: Leadership, initiatives to improve nursing quality in specific areas, and nursing profession

PLO 4.1

Demonstrate leadership ability to collaborate with the health team and individuals concerned in nursing excellence

PLO 4.2

Culturally sensitivity to provide positive outcomes for patients or service users

PLO 4.3

Accept responsibility for continuing

PLO 5

Numerical Analysis, Communication, and Information Technology Skills: Using digital technology and information in health communication, nursing, research, and the development of new products to raise the standard of nursing care

PLO 5.1

Have knowledge of digital technologies and information in looking for information and analyzing data credibility to enhance nursing care quality

PLO 5.2

Analyze and process data for risk management and monitoring

PLO 5.3

Capable of communicating in both Thai and English with patients, service users, nursing teams, and interdisciplinary teams


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2565

# รายการ ไฟล์แก้ไข ไฟล์ PDF
1. TQF -

Master of Nursing Science Program (International Program)

NO.

Detail

Amount (Thai Baht)

1

Tuition and service for international students
- 82,500 Baht x 4 regular semesters

330,000

2

University charge for international students
- 20,000 Baht x 4 regular semesters

80,000

Total

410,000

Total payment per each semester

Semester 1 = 102,500 Baht

Semester 2 = 102,500 Baht

Semester 3 = 102,500 Baht

Semester 4 = 102,500 Baht


Remark

• The payment of the tuition and service fees must be in Thai Baht.

• The payment will be varied based on the exchange rate.

• Students need to prepare extra money for conducting their master thesis.

• Students who are unable to complete the degree program within 2 years (4 regular semesters) are required to pay the additional fees to maintain their status(Approximately 6,000 Thai Baht).

Other payment

• Student registration fee costs 2,000 Baht

• Degree certificate fee costs 2,200 Baht

• Dormitory fee is about 2,500 - 8,000 Baht; the cost depends on: type of the room, how far from university/how many persons stay in each room.


ศาสตราจารย์ ดร.จินตนา วัชรสินธุ์
Prof. Dr.Chintana Wacharasin

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102892
email : chintana@buu.ac.th,

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.พรชัย จูลเมตต์
Assoc. Prof. Dr.Pornchai Jullamate

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102809
email : pornchai@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์
Assoc. Prof. Dr.Pornpat Hengudomsub

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102807
email : pornpat12@yahoo.com, pornpath@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.จิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส
Assoc. Prof. Dr.Jinjutha Chaisena Dallas

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102867
email : jinjuthatawan@gmail.com, jinjutha@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เขมารดี มาสิงบุญ
Asst. Prof. Dr.Khemaradee Masingboon

D.S.N.

โทร : 038-102835
email : Khemarad@hotmail.com, khemaradee@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.นุจรี ไชยมงคล
Assoc. Prof. Dr.Nujjaree Chaimongkol

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102222
email : nujjaree@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.พรนภา หอมสินธุ์
Assoc. Prof. Dr.Pornnapa Homsin

ปร.ด. (การพยาบาล)

โทร : 038-102842
email : phomsin09@gmail.com, pornnapa@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัยนา พิพัฒน์วณิชชา
Asst. Prof. Dr.Naiyana Piphatvanitcha

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102853
email : naiyana_p2005@hotmail.com, naiyana@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ
Assoc. Prof. Dr.Chanandchidadussadee Toonsiri

ปร.ด. (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข)

โทร : 038-102844
email : stoonsiri@yahoo.com, siriporn@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายฝน ม่วงคุ้ม
Asst. Prof. Dr.Saifone Moungkum

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102832
email : saifone@buu.ac.th

Profile

หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการผดุงครรภ์



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

หลักสูตรผ่านการรับรองโดย :

          สภามหาวิทยาลัยบูรพา ได้อนุมัติหลักสูตร เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

          สภาการพยาบาล ได้อนุมัติหลักสูตร เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2566

ชื่อวุฒิ :

        ภาษาไทย: หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการผดุงครรภ์

        ภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science Program in Midwifery

ชื่อปริญญา :

        ชื่อปริญญาภาษาไทย: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การผดุงครรภ์)

        ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science (Midwifery)

ชื่อย่อปริญญา :

        อักษรย่อภาษาไทย: พย.ม. (การผดุงครรภ์)

        อักษรย่อภาษาอังกฤษ: M.N.S. (Midwifery)

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร :

เเพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้มีสมรรถนะ ดังนี้

        (1) ปฏิบัติโดยใช้หลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ในการปฏิบัติการพยาบาล สร้างงานวิชาการ งานวิจัย และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับประเด็นจริยธรรมทางการผดุงครรภ์

        (2) สังเคราะห์ศาสตร์ทางการผดุงครรภ์ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และหลักฐานเชิงประจักษ์ ในการดูแลทางการผดุงครรภ์แก่ผู้รับบริการที่มีภาวะปกติและภาวะแทรกซ้อน ได้อย่างเหมาะสม

        (3) ปฏิบัติการผดุงครรภ์ขั้นสูงแบบองค์รวมอย่างต่อเนื่องแก่ผู้รับบริการ ทั้งในภาวะปกติ ภาวะเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อน ภาวะฉุกเฉิน วิกฤต ที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ได้อย่างเหมาะสมตามบริบทที่มีความเป็นพหุวัฒนธรรม ภายใต้กฎหมาย จรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพ

        (4) พัฒนาและดำเนินงานวิจัย หรือนวัตกรรม เพื่อใช้ในการบริการทางการผดุงครรภ์ และเผยแพร่ผลงานอย่างมีมาตรฐาน

        (5) มีภาวะผู้นำ สามารถวางแผนการจัดการให้การเปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนาคุณภาพการดูแลและบริการทางการผดุงครรภ์ ด้วยแนวคิดการประกอบการ

        (6) มีทักษะการสื่อสารเชิงวิชาการและวิชาชีพ และทักษะการเรียนรู้แบบนำตนเอง

        (7) มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนางานด้านการผดุงครรภ์ให้ทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณ์

โครงสร้างหลักสูตร และจำนวนหน่วยกิต :

จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร
แผน 1 แบบวิชาการ เรียนรายวิชาและทำวิทยานิพนธ์
ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 1 แบบวิชาการ เรียนรายวิชาและทำวิทยานิพนธ์
หมวดวิชาบังคับ
21 หน่วยกิต

วิชาแกน

9 หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

12 หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า
3 หน่วยกิต
หมวดวิทยานิพนธ์
12 หน่วยกิต
รายวิชา
แผน 1 แบบวิชาการ เรียนรายวิชาและทำวิทยานิพนธ์
หมวดวิชาบังคับ
1) วิชาแกน
9 หน่วยกิต

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

2) วิชาเฉพาะ
12 หน่วยกิต

10250166

พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาเพื่อการพยาบาลผดุงครรภ์
Pathophysiology and Pharmacology in Midwifery

2(2-0-4)

10250266

การผดุงครรภ์ 1
Midwifery I

2(2-0-4)

10250366

การผดุงครรภ์ 2
Midwifery II

2(2-0-4)

10250466

ปฏิบัติการผดุงครรภ์ 1
Midwifery Practicum I

3(0-9-3)

10260566

ปฏิบัติการผดุงครรภ์ 2
Midwifery Practicum II

3(0-9-3)

หมวดวิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

10260666

สัมมนาวิจัยทางการผดุงครรภ์
Research Seminar in Midwifery

3(3-0-6)

10260766

การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการผดุงครรภ์
Evidence-Based Practice in Midwifery

3(3-0-6)

10760165

การจัดการทางการพยาบาล
Nursing Management

3(2-3-4)

10760265

การสอนทางการพยาบาล
Teaching in Nursing

3(2-3-4)

10760365

การพัฒนาบทบาทผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง
Advanced Practice Nursing Role Development

3(2-3-4)

หมวดวิทยานิพนธ์

12 หน่วยกิต

10269966

วิทยานิพนธ์
Thesis

12 (0-0-36)

วัน-เวลาการเรียน

แบบเต็มเวลา เรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน)
แบบไม่เต็มเวลา เรียนวันและนอกเวลาราชการ (วันเสาร์และวันอาทิตย์) และเรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน กรณีรายวิชาปฏิบัติ)

ทุนการศึกษา

1. ทุนการทำวิทยานิพนธ์

2. ทุนการศึกษา เพื่อต่อยอดเป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สิ่งสนับสนุน

1. มีอาคารเรียนและห้องเรียนที่เหมาะสมกับการเรียนระดับบัณฑิตศึกษามีอุปกรณ์โสตที่เพียงพอและพร้อมใช้

2. มีห้องทำงานหรือห้องศึกษาสำหรับผู้เรียนอย่างเหมาะสม เป็นสัดส่วนและเอื้อต่อการเรียนรู้ของนิสิต

3. มีห้องทำงานอาจารย์ที่เหมาะสม เป็นสัดส่วน และเอื้อต่อการทำงานและให้การปรึกษาแก่ผู้เรียน

4. มีห้องปฏิบัติการพยาบาลเฉพาะสาขาวิชาตามหลักสูตร และมีอุปกรณ์เพียงพอในการฝึกทักษะขั้นสูง

   4.1 ห้องปฎิบัติการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ

   4.2 ห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับหุ่นจำลองเสมือนจริงขั้นสูง (Simulation Lab)

5. มีคอมพิวเตอร์จำนวนที่เพียงพอ และทันสมัยสำหรับผู้เรียนทุกคน เพื่อการค้นคว้าโดยเฉพาะ

6. มีสำนักห้องสมุดที่มีตำรา และหนังสือที่ทันสมัย ทางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร หรือมีอิเล็กทรอนิกส์บุ๊ค วารสารวิชาชีพการพยาบาล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ วารสารทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและการพยาบาลและฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์วิทยานิพนธ์ ทั้งในและต่างประเทศที่ทันสมัยอย่างเพียงพอ และสามารถสืบค้นได้ตลอดเวลา

7. มีแหล่งฝึกวิชาปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผู้เรียนปริญญาโทตรงตามสาขาวิชาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และ มีจำนวนผู้ป่วย/ผู้รับบริการเพียงพอสำหรับการฝึกปฏิบัติ


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

รองศาสตราจารย์ ดร.ตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี
Assoc. Prof. Dr.Tatirat Tachasuksri

Dr.P.H. (Public Health Nursing)

โทร : 038-102861
email : tatiratp@yahoo.com, tatirat@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา
Assoc. Prof. Dr.Punyarat Lapvongwatana

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102860
email : punyarat.la@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพิศ ศิริอรุณรัตน์
Asst. Prof. Dr.Supit Siriarunrat

Dr.P.H. (Public Health Nursing)

โทร : 038-102860
email : supits@go.buu.ac.th, supits@buu.ac.th

Profile

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

รองศาสตราจารย์ ดร.ตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี
Assoc. Prof. Dr.Tatirat Tachasuksri

Dr.P.H. (Public Health Nursing)

โทร : 038-102861
email : tatiratp@yahoo.com, tatirat@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา
Assoc. Prof. Dr.Punyarat Lapvongwatana

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102860
email : punyarat.la@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพิศ ศิริอรุณรัตน์
Asst. Prof. Dr.Supit Siriarunrat

Dr.P.H. (Public Health Nursing)

โทร : 038-102860
email : supits@go.buu.ac.th, supits@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริวรรณ แสงอินทร์
Assoc. Prof. Dr.Siriwan Sangin

Ph.D. (Nursing) (หลักสูตรนานาชาติ)

โทร : 038-102824
email : siriwan_y2001@yahoo.com, yuenyong@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุษา เชื้อหอม
Asst. Prof. Dr.Usa Chuahorm

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102861
email : usa@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์
Assoc. Prof. Dr.Pornpat Hengudomsub

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102807
email : pornpat12@yahoo.com, pornpath@buu.ac.th

Profile

ศาสตราจารย์ ดร.จินตนา วัชรสินธุ์
Prof. Dr.Chintana Wacharasin

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102892
email : chintana@buu.ac.th,

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสากร กรุงไกรเพชร
Asst. Prof. Dr.Nisakorn Krungkraipetch

Dr.P.H. (Public Health Nursing)

โทร : 038-102840
email : nisakorn@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เขมารดี มาสิงบุญ
Asst. Prof. Dr.Khemaradee Masingboon

D.S.N.

โทร : 038-102835
email : Khemarad@hotmail.com, khemaradee@buu.ac.th

Profile

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

แบบเต็มเวลา 132,000 บาท แบ่งชำระ 4 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,000 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,000 บาท

แบบไม่เต็มเวลา 165,000 บาท แบ่งชำระ 6 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,000 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

16,500 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 5

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 6

16,500 บาท

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตรฯ (PLOs)
1. ด้านความรู้
PLO 1 สังเคราะห์ศาสตร์ทางการผดุงครรภ์ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และหลักฐานเชิงประจักษ์ เพื่อการดูแลสุขภาพของผู้รับบริการได้อย่างเหมาะสม

               PLO 1.1 เชื่อมโยงศาสตร์ทางการผดุงครรภ์ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และหลักฐานเชิงประจักษ์ เพื่อระบุหรือวินิจฉัยปัญหาสุขภาพได้อย่างถูกต้องและสมเหตุผล
               PLO 1.2 ออกแบบการดูแลส่งเสริมหรือแก้ไขปัญหาสุขภาพของผู้รับบริการทางการผดุงครรภ์ ด้วยโปรแกรม/แนวปฏิบัติ/หรือนวัตกรรม ได้อย่างเหมาะสม
               PLO 1.3 ประเมินผลลัพธ์การปฏิบัติการผดุงครรภ์เพื่อการปรับปรุงคุณภาพการดูแลหรือบริการทางการผดุงครรภ์ได้อย่างเหมาะสม

PLO 2 สร้างงานวิจัยเพื่อดูแลผู้รับบริการหรือพัฒนาบริการทางการผดุงครรภ์ ได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการวิจัยและการเผยแพร่งานวิจัยได้

               PLO 2.1 ออกแบบเค้าโครงวิจัย โดยสังเคราะห์องค์ความรู้จากศาสตร์การผดุงครรภ์ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และหลักฐานเชิงประจักษ์
               PLO 2.2 ทำวิจัยเพื่อดูแลผู้รับบริการหรือพัฒนาบริการทางการผดุงครรภ์ ตามปรากฎการณ์ที่สนใจ โดยใช้กระบวนการวิจัยและหลักจริยธรรมการวิจัย
               PLO 2.3 เผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับชาติหรือนานาชาติได้

2. ด้านทักษะ
PLO 3 ปฏิบัติการผดุงครรภ์ขั้นสูงแบบองค์รวมอย่างต่อเนื่องแก่ผู้รับบริการ ทั้งในภาวะปกติ ภาวะเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อน ภาวะฉุกเฉินและวิกฤต ที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ได้อย่างเหมาะสมตามบริบททางวัฒนธรรม

               PLO 3.1 ดูแลผู้รับบริการทางการผดุงครรภ์ที่มีภาวะปกติ ภาวะเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อน ภาวะฉุกเฉินและวิกฤตได้เหมาะสมกับบริบททางวัฒนธรรม โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ หรือโปรแกรม/นวัตกรรม
               PLO 3.2 ช่วยเหลือผู้รับบริการที่มีภาวะปกติได้อย่างอิสระ เพื่อการคลอดได้ด้วยตนเอง
               PLO 3.3 ช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้รับบริการที่มีภาวะแทรกซ้อน ภาวะฉุกเฉินและวิกฤตทางการผดุงครรภ์ ได้อย่างทันท่วงทีและส่งต่อได้
               PLO 3.4 ให้คำปรึกษาแก่ผู้รับบริการอย่างเหมาะสม เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพทางการผดุงครรภ์ที่ซับซ้อน

PLO 4 สื่อสารข้อมูลเชิงวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามมาตรฐานทางวิชาการ และวิชาชีพ

               PLO 4.1 อ่านบทความวิชาการและบทความวิจัยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อประมวลเนื้อหาได้อย่างถูกต้อง
               PLO 4.2 นำเสนองานวิชาการ การปฏิบัติ หรือวิจัยทางการผดุงครรภ์ ได้อย่างถูกต้องตามหลักการเขียนและการนำเสนอทางวิชาการ
               PLO 4.3 สื่อสารกับผู้รับบริการ ผู้ร่วมงาน และสหวิชาชีพ ได้อย่างเหมาะสม เพื่อการดูแลสุขภาพทางการผดุงครรภ์

PLO 5 เลือกใช้ข้อมูลสถิติ สารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัลทางสุขภาพ เพื่อพัฒนางานด้านการผดุงครรภ์ให้ทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณ์

               PLO 5.1 เลือกใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพด้านการผดุงครรภ์ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม
               PLO 5.2 เลือกข้อมูลสารสนเทศที่น่าเชื่อถือ เพื่อการติดตาม เฝ้าระวัง ตัดสินใจวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพทางการผดุงครรภ์ได้อย่างเหมาะสม
               PLO 5.3 เลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนาบริการทางการผดุงครรภ์ได้อย่างเหมาะสม

3. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
PLO 6 แสดงออกถึงความถูกต้องตามหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพ ในการสร้างงานวิชาการ หรืองานวิจัย และการปฏิบัติการผดุงครรภ์

               PLO 6.1 ดำเนินการโดยใช้หลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ในการผลิตผลงานวิชาการ หรืองานวิจัย
               PLO 6.2 ปกป้องสิทธิของผู้รับบริการในการปฏิบัติการผดุงครรภ์ ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ
               PLO 6.3 เลือกปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพ ในการให้คำปรึกษา วิเคราะห์ หรือตัดสินประเด็นปัญหาจริยธรรมทางการผดุงครรภ์

4. ด้านลักษณะบุคคล
PLO 7 แสดงออกถึงการมีภาวะผู้นำในการเปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนาคุณภาพบริการทางการผดุงครรภ์

               PLO 7.1 ทำงานเป็นทีมร่วมกับทีมสุขภาพและผู้เกี่ยวข้องเพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายได้
               PLO 7.2 ริเริ่มให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างสร้างสรรค์ในการออกแบบโปรแกรม/หรือนวัตกรรมในการปฏิบัติการผดุงครรภ์ได้อย่างเหมาะสม
               PLO 7.3 ประสานความร่วมมือกับผู้รับบริการ ผู้ร่วมวิชาชีพ และผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บรรลุผลลัพธ์ที่คาดหวังในการส่งเสริมการคลอดด้วยตนเองในภาวะปกติและปฏิบัติการผดุงครรภ์ขั้นสูงที่มีภาวะเสี่ยงและแทรกซ้อน
               PLO 7.4 เสนอแผนการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพบริการทางการผดุงครรภ์อย่างเหมาะสม และสร้างสรรค์ โดยใช้แนวคิดผู้ประกอบการ
               PLO 7.5 แสดงออกถึงทักษะการเรียนรู้แบบนำตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิต


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

แผน 1 แบบวิชาการ เรียนรายวิชาและทำวิทยานิพนธ์ (เต็มเวลา)

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10250166

พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาเพื่อการผดุงครรภ์
Pathophysiology and Pharmacology in Midwifery

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10250266

การผดุงครรภ์ 1
Midwifery I

2(2-0-4)

จำนวนหน่วยกิตรวม

8


ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

วิชาเฉพาะ

10250366

การผดุงครรภ์ 2
Midwifery II

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10250466

ปฏิบัติการผดุงครรภ์ 1
Midwifery Practicum I

3(0-9-3)

จำนวนหน่วยกิตรวม

10


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

10260566

ปฏิบัติการผดุงครรภ์ 2
Midwifery Practicum II

3(0-9-3)

วิชาเลือก

xxxxxxxx

เลือกเสรี

3(3-0-6)

วิทยานิพนธ์

10269966

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

12


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

10269966

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

6


แผน 1 แบบวิชาการ เรียนรายวิชาและทำวิทยานิพนธ์ (ไม่เต็มเวลา)

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10250166

พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาเพื่อการผดุงครรภ์
Pathophysiology and Pharmacology in Midwifery

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10250266

การผดุงครรภ์ 1
Midwifery I

2(2-0-4)

จำนวนหน่วยกิตรวม

8


ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

วิชาเฉพาะ

10250366

การผดุงครรภ์ 2
Midwifery II

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10250466

ปฏิบัติการผดุงครรภ์ 1
Midwifery Practicum I

3(0-9-3)

จำนวนหน่วยกิตรวม

10


ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน (Summer Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเลือก

xxxxxxxx

เลือกเสรี

3(3-0-6)

จำนวนหน่วยกิตรวม

3


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

10260566

ปฏิบัติการผดุงครรภ์ 2
Midwifery Practicum II

3(0-9-3)

วิทยานิพนธ์

10269966

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

9


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

10269966

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

6



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต

มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม ดังนี้

1.1 มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ถ้ามี)

1.2 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการพยาบาลหรือเทียบเท่า และมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขาการพยาบาลหรือสาขากาพรยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง

1.3 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่น้อยกว่า 2.50

1.4 มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการพยาบาลหลังสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ไม่น้อยกว่า 1 ปี (นับถึงวันสมัคร)

1.5 ในกรณีที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามที่กล่าวข้างต้น ให้อยุ่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการประจำหลักสูตรฯ

ประชาสัมพันธ์

หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

หลักสูตรผ่านการรับรองโดย :

          สภามหาวิทยาลัยบูรพา ได้อนุมัติหลักสูตร เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

          สภาการพยาบาล ได้อนุมัติหลักสูตร เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2566

ชื่อวุฒิ :

          ภาษาไทย: หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ

          ภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science Program in Gerontological Nurse Practitioner

ชื่อปริญญา :

          ชื่อปริญญาภาษาไทย: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ)

          ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Master of Nursing Science (Gerontological Nurse Practitioner)

ชื่อย่อปริญญา :

          อักษรย่อภาษาไทย: พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ)

          อักษรย่อภาษาอังกฤษ: M.N.S. (Gerontological Nurse Practitioner)

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร :

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้แล้ว ผู้สำเร็จการศึกษาจะมีสมรรถนะ ดังนี้

          (1) สามารถตัดสินใจบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม กฎหมาย จรรยาบรรณ รวมทั้งมาตรฐานทางวิชาการและวิชาชีพในการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ และงานวิจัย

          (2) มีความรู้อย่างลึกซึ้งในศาสตร์ทางการพยาบาล ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

          (3) สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างสรรค์งานที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

          (4) สามารถบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาล ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปัญญาท้องถิ่น และหลักฐานเชิงประจักษ์ ในการพัฒนาศักยภาพและดูแลสุขภาพแบบองค์รวมแก่ผู้รับบริการทั้งระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่มคน และชุมชนในทุกพลวัตของสุขภาพอย่างเสมอภาค โดยคำนึงถึงพหุวัฒนธรรม

          (5) สามารถทำวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมสุขภาพ

          (6) มีภาวะผู้นำ และมีแนวคิดผู้ประกอบการด้านการดูแลผู้สูงอายุ สามารถทำงานเป็นทีม การประสานงานที่ก่อให้เกิดความร่วมมือ บริหารจัดการดูแลสุขภาพที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางสร้างสรรค์

          (7) สามารถสื่อสารข้อมูลสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ

          (8) สามารถจัดการสารสนเทศ เลือกและประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลทางสุขภาพที่ทันสมัยและเหมาะสม

          (9) พัฒนาตนเอง และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

โครงสร้างหลักสูตร และจำนวนหน่วยกิต :

จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร
แผน 1 แบบวิชาการ เรียนรายวิชาและทำวิทยานิพนธ์
ไม่น้อยกว่า 38 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร
แผน 1 แบบวิชาการ เรียนรายวิชาและทำวิทยานิพนธ์
หมวดวิชาบังคับ
23 หน่วยกิต

วิชาแกน

9 หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

14 หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า
3 หน่วยกิต
หมวดวิทยานิพนธ์
12 หน่วยกิต
รายวิชา
แผน 1 แบบวิชาการ เรียนรายวิชาและทำวิทยานิพนธ์
หมวดวิชาบังคับ
23 หน่วยกิต
1) วิชาแกน
9 หน่วยกิต

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

2) วิชาเฉพาะ
14 หน่วยกิต

10550166

พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาสำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ
Pathophysiology and Pharmacology for Gerontological Nurse Practitioner

2(2-0-4)

10550266

รักษาโรคเบื้องต้นในผู้สูงอายุ
Primary Medical Care in Elders

2(2-0-4)

10550366

การพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ 1
Gerontological Nurse Practitioner 1

2(2-0-4)

10550466

การพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ 2
Gerontological Nurse Practitioner 2

2(2-0-4)

10550566

ปฏิบัติการรักษาโรคเบื้องต้นในผู้สูงอายุ
Primary Medical Care Practicum in Elders

2(0-6-2)

10550666

ปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ 1
Gerontological Nurse Practitioner Practicum 1

2(0-6-2)

10560766

ปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ 2
Gerontological Nurse Practitioner Practicum 2

2(0-6-2)

หมวดวิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

10563566

การเป็นผู้ประกอบการในธุรกิจด้านการดูแลผู้สูงอายุ
Entrepreneurship in Elders Care Businesses

3(3-0-6)

10563666

เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์กับการดูแลผู้สูงอายุ
Artificial Intelligence Technologies with Elders

3(3-0-6)

10563766

การส่งเสริมสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ
Mental Health Promotion in Elders

3(3-0-6)

10563866

สัมมนาวิจัยทางการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ
Research Seminar in Gerontological Nurse Practitioner

3(3-0-6)

10760165

การจัดการทางการพยาบาล
Nursing Management

3(2-3-4)

10760265

การสอนทางการพยาบาล
Teaching in Nursing

3(2-3-4)

10760365

การพัฒนาบทบาทผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง
Advanced Practice Nursing Role Development

3(2-3-4)

          นอกจากนี้นิสิตสามารถเลือกเรียนรายวิชาอื่นๆ ในระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดในสถาบัน หรือนอกสถาบันที่มหาวิทยาลัยบูรพารับรองโดยต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ

หมวดวิทยานิพนธ์

12 หน่วยกิต

10569966

วิทยานิพนธ์
Thesis

12 (0-0-36)

วัน-เวลาการเรียน

แบบเต็มเวลา เรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน)
แบบไม่เต็มเวลา เรียนวันและนอกเวลาราชการ (วันเสาร์และวันอาทิตย์) และเรียนวันและเวลาราชการปกติ (เป็นบางวัน กรณีรายวิชาปฏิบัติ)

ทุนการศึกษา

1. ทุนการทำวิทยานิพนธ์

2. ทุนการศึกษา เพื่อต่อยอดเป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนในหลักสูตรฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

1. มีอาคารเรียนและห้องเรียนที่เหมาะสมกับการเรียนระดับบัณฑิตศึกษา มีอุปกรณ์โสต ที่เพียงพอและพร้อมใช้

2. มีห้องทำงานหรือห้องศึกษาด้วยตนเองสำหรับผู้เรียนอย่างเหมาะสม เป็นสัดส่วนและเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา

3. มีห้องทำงานอาจารย์ที่เหมาะสม เป็นสัดส่วน เอื้อต่อการทำงาน และให้การปรึกษา

4. มีคอมพิวเตอร์จำนวนที่เพียงพอ และทันสมัยสำหรับผู้เรียนทุกคนสำหรับการค้นคว้า

5. มีห้องสมุดที่มีตำราและหนังสือที่ทันสมัยทั้งหนังสือทางการพยาบาล วิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร มีหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารวิชาชีพการพยาบาล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

6. มีฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ วารสารทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและการพยาบาลและฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์วิทยานิพนธ์ ทั้งในและต่างประเทศที่ทันสมัยอย่างเพียงพอและสามารถสืบค้นได้ตลอดเวลา

7. ห้องปฏิบัติการทางการพยาบาล อุปกรณ์ และเครื่องมือการประเมินที่เกี่ยวข้องกับการฝึกปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ

   7.1 ห้องปฏิบัติการทางการพยาบาล

   7.2 ห้องปฏิบัติการเสมือนจริง มีหุ่นเสมือนจริง (Simulator)

8. มีแหล่งฝึกปฏิบัติการพยาบาลที่เหมาะสมสำหรับการฝึกปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ

9. อัตราส่วนของอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติต่อผู้เรียน หลักสูตรฯ มีอาจารย์สอนภาคปฏิบัติเพียงพอและเป็นไปตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาลสำหรับสาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ สำหรับรายวิชาฝึกปฏิบัติการรักษาโรคเบื้องต้นสัดส่วนอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติต่อผู้เรียน คือ 1: 2 สัดส่วนอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติต่อผู้เรียนสำหรับรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ คือ 1: 4


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วารี กังใจ
Asst. Prof. Dr.Waree Kangchai

Dr.P.H. (Public Health Nursing)

โทร : 038-102854
email : wareek@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสากร กรุงไกรเพชร
Asst. Prof. Dr.Nisakorn Krungkraipetch

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102840
email : nisakorn@buu.ac.th

Profile

อาจารย์ ดร.วัชรา ตาบุตรวงศ์
Dr.Watchara Tabootwong

Dr.P.H. (Public Health Nursing)

โทร : 038-102853
email : watchara.t2525@gmail.com, tabootwong@buu.ac.th

Profile

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วารี กังใจ
Asst. Prof. Dr.Waree Kangchai

(พย.ด.) (พยาบาลศาสตร์)

โทร : 038-102854
email : wareek@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสากร กรุงไกรเพชร
Asst. Prof. Dr.Nisakorn Krungkraipetch

Dr.P.H. (Public Health Nursing)

โทร : 038-102840
email : nisakorn@buu.ac.th

Profile

อาจารย์ ดร.วัชรา ตาบุตรวงศ์
Dr.Watchara Tabootwong

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102853
email : watchara.t2525@gmail.com, tabootwong@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.พรชัย จูลเมตต์
Assoc. Prof. Dr.Pornchai Jullamate

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102809
email : pornchai@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัยนา พิพัฒน์วณิชชา
Asst. Prof. Dr.Naiyana Piphatvanitcha

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102853
email : naiyana_p2005@hotmail.com, naiyana@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา พิบูลย์
Asst. Prof. Dr.Kanchana Piboon

Ph.D. (Nursing)

โทร : 038-102853
email : kanchanap@go.buu.ac.th, kanchanap@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สหัทยา รัตนจรณะ
Asst. Prof. Dr.Sahattaya Rattanajarana

Ph.D. (Applied Science)

โทร : 038-102884
email : sahattar@yahoo.com, sahattar@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายฝน ม่วงคุ้ม
Asst. Prof. Dr.Saifone Moungkum

Ph.D. (Nursing Science)

โทร : 038-102832
email : saifone@buu.ac.th

Profile

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เขมารดี มาสิงบุญ
Asst. Prof. Dr.Khemaradee Masingboon

D.S.N.

โทร : 038-102835
email : Khemarad@hotmail.com, khemaradee@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ร.อ.หญิง ดร.ชนัดดา แนบเกษร
Assoc. Prof. Capt. Dr.Chanudda Nabkasorn

Ph.D. (Medical Science)

โทร : 038-102867
email : chanuddan@yahoo.com, chanudda@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ
Assoc. Prof. Dr.Chanandchidadussadee Toonsiri

ปร.ด. (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข)

โทร : 038-102844
email : stoonsiri@yahoo.com, siriporn@buu.ac.th

Profile

รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณรัตน์ ลาวัง
Assoc. Prof. Dr.Wannarat Lawang

Ph.D. (Health Sciences)

โทร : 038-102843
email : lawang@go.buu.ac.th, lawang@buu.ac.th

Profile

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

แบบเต็มเวลา 134,400 บาท แบ่งชำระ 4 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,600 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,600 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

33,600 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,600 บาท

แบบไม่เต็มเวลา 168,000 บาท แบ่งชำระ 6 งวด แบ่งชำระเป็น

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 1

33,000 บาท (ชำระตั้งแต่วันรายงานตัวขึ้นเป็นนิสิต)

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 2

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 3

18,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 4

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 5

33,000 บาท

ค่าธรรมเนียมงวดที่ 6

18,000 บาท

ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตรฯ (PLOs)


1. ด้านความรู้

    PLO 1 อธิบายเนื้อหาสาระของศาสตร์ทางการพยาบาล ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้อย่างถูกต้องตามหลักการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุโดยคำนึงความแตกต่างทางวัฒนธรรม
    PLO 2 อธิบายกระบวนการวิจัย สถิติ และการพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ
    PLO 3 ระบุวิทยาการที่ทันสมัยทางการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ
    PLO 4 วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากศาสตร์ทางการพยาบาล ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ แนวคิดความแตกต่างทางวัฒนธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และภูมิปัญญาท้องถิ่น นำผลงานวิจัยและข้อมูลป้อนกลับ เพื่อปรับปรุงคุณภาพการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุได้อย่างคุ้มค่า คุ้มทุน
    PLO 5 คิดริเริ่มในการแก้ไขปัญหา และสร้างนวัตกรรมในการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ

2. ด้านทักษะ

    PLO 6 เลือกใช้เครื่องมือในการประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
    PLO 7 ปฏิบัติการพยาบาลผู้สูงอายุที่มีภาวะปกติ ภาวะเสี่ยง ภาวะเจ็บป่วยทุกระยะ ได้แก่ ระยะฉุกเฉิน เฉียบพลัน วิกฤติ เรื้อรัง และระยะสุดท้ายของชีวิต โดยครอบคลุมการคัดกรองโรค การประเมินสภาพผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรคเบื้องต้น และการฟื้นฟูสภาพปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ รวมทั้งการส่งต่อเพื่อการดูแลอย่างต่อเนื่อง โดยบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาล ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ แนวคิดความแตกต่างทางวัฒนธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปัญญาท้องถิ่น หลักฐานเชิงประจักษ์และนวัตกรรมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
    PLO 8 สืบค้น วิเคราะห์ จัดการ และประมวลผลข้อมูลสุขภาพของผู้สูงอายุเพื่อนำมาใช้ในการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ
    PLO 9 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยในการศึกษา การวิจัย และการตีพิมพ์เผยแพร่

3. ด้านจริยธรรม

    PLO 10 ชี้แนะทางกฏหมาย ให้เหตุผล และตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาล
    PLO 11 มีจริยธรรมในการทำวิจัยและงานวิชาการ
    PLO 12 ปฏิบัติการพยาบาลโดยคำนึงถึงสิทธิของผู้รับบริการ

4. ด้านลักษณะบุคคล

    PLO 13 สร้างสัมพันธภาพเชิงบำบัดโดยการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ ครอบครัว และชุมชน
    PLO 14 บริหารจัดการ และแก้ปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อน
    PLO 15 รับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง รวมทั้งวิชาชีพและสังคม
    PLO 16 เป็นผู้นำในการปฏิบัติการพยาบาลหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ
    PLO 17 ทำงานเป็นทีมร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ และเครือข่ายต่าง ๆ
    PLO 18 สื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้
    PLO 19 มีความเป็นผู้ประกอบการด้านการดูแลผู้สูงอายุ


ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750165

ทฤษฎีและแนวคิดทางการพยาบาล
Nursing Theory and Concepts

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750265

สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางการพยาบาล
Applied Statistics for Nursing Research

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10550166

พยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาสำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ
Pathophysiology and Pharmacology for Gerontological Nurse Practitioner

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10550266

การรักษาโรคเบื้องต้นในผู้สูงอายุ
Primary Medical Care in Elders

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10550366

การพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ 1
Gerontological Nurse Practitioner I

2(2-0-4)

จำนวนหน่วยกิตรวม

10


ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาแกน

10750365

นโยบายและระบบสุขภาพ
Policy and Health System

2(2-0-4)

วิชาแกน

10750465

การวิจัยและการใช้ผลการวิจัยทางการพยาบาล
Nursing Research and Research Utilization

3(3-0-6)

วิชาเฉพาะ

10550466

การพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ 2
Gerontological Nurse Practitioner 2

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

10550566

ปฏิบัติการรักษาโรคเบื้องต้นในผู้สูงอายุ
Primary Medical Care Practicum in Elders

2(0-6-2)

วิชาเฉพาะ

10550666

ปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ 1
Gerontological Nurse Practitioner Practicum 1

2(0-6-2)

จำนวนหน่วยกิตรวม

11


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ

10560766

ปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ 2
Gerontological Nurse Practitioner Practicum 2

2(0-6-2)

วิชาเลือก

xxxxxxxx

วิชาเลือก

3(3-0-6)

วิทยานิพนธ์

10569966

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

11


ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

10569966

วิทยานิพนธ์
Thesis

6(0-0-18)

จำนวนหน่วยกิตรวม

6



ปรับปรุงข้อมูลวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2567

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต

มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม

1. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น 1 หรือการพยาบาล ชั้น 1

2. มีประสบการณ์การทำงานพยาบาลอย่างน้อย 1 ปี นับถึงวันที่สมัคร

3. มีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

กรณีผู้เข้าศึกษาไม่มีสัญชาติไทย ต้องสำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ หรือเทียบเท่า และได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลโดยสภาวิชาชีพ หรือองค์กรที่รับผิดชอบในประเทศของผู้สมัคร กรณีไม่มีระบบการให้ใบอนุญาต ต้องมีใบรับรอง การขึ้นทะเบียนในประเทศของผู้สมัคร หรือรับรองโดยหน่วยงานกำกับดูแลวิชาชีพพยาบาล (Nursing Regulatory Authority) ในประเทศของผู้สมัคร

4. ในกรณีที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามที่กล่าวข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร

สนใจเข้าศึกษาต่อ สามารถสมัครผ่านทาง Online ได้ที่ http://e-admission.buu.ac.th

หรือสมัครด้วยตนเองที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา ชั้น 7 อาคาร 50 ปี ศาสตราจารย์ประยูร จินดาประดิษฐ์
สอบถามข้อมูลการรับสมัครได้ที่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 038-102700 ต่อ 705, 707
เว็บไซต์ : http://grd.buu.ac.th/wordpress/

สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรเพิ่มเติมได้ที่ งานบริการการศึกษา (บัณฑิตศึกษา) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 038-102805, 038-102875
เว็บไซต์ : http://www.nurse.buu.ac.th
Facebook : https://www.facebook.com/gradnursebuu

ประชาสัมพันธ์